ต่อไปจะดีแค่ใหนนะ ถ้านักบินอวกาศสามารถปฏิบัติงานได้ยาวนานกว่าเดิม จะดีขนาดใหน ถ้าเราสามารถเตรียมอาหารและออกซิเจน ให้กับเหล่าผู้กล้าของมนุษย์ชาติ ที่ขึ้นไปปฏิบัติงานบนนั้น นักบินอวกาศใน
สถานีอวกาศนานาชาติ กำลังถูกใช้งานในสถานะของผู้ทดลองกับเทคโนโลยีใหม่ของนาซา
อย่างไบโอรีแอคเตอร์ ที่พยายามสร้างระบบพยุงชีวิตระยะยาวในอวกาศขึ้นมาอย่างรวดเร็ว
นักวิทยาศาสตร์พยายามจะสร้างระบบพยุงชีวิตในพึ้นที่ปิด

ที่สักวันมันจะทำให้นักบินอวกาศสามารถปฏิบัติการในอวกาศได้อย่างยาวนานโด้ยไม่ต้องมีสเบียงสนับสนุนจากโลก ซึ่งมันจำเป็นมากกับการที่จะทำการประคองชีวิตบนดาวอังคารหรือดวงจันทร์ ในการปฏิบัติการระยะยาวบนนั้นโดยองค์ประกอบที่สำคัญบนไบโอรีแอคเตอร์นั้น คือสาหร่าย โดยโฟโตไบโอรีแอคเตอร์ ได้ถูกนำขึ้นไปบนอวกาศ 3 วันก่อน ด้วยฝืมือของคาร์โกจากกระสวย
อวกาศดราก้อนของสเปซเอ็กซ์ ที่ส่งของขึ้นไปบนนั้นตั้ง 5000 ปอนดฺ์ จรวดไร้คนขับ
อย่างดราก้อน ลอยอยู่เหนือโลกราวๆ 250 กิโลเมตร บนนั้นมีสเบียงเพิ่มเติมสำหรับ
6 คน ถ้าจะทำการขยายกระสวยอวกาศให้รองรับคน 59 คนในอนาคต เช่นเดียว

กับที่พวกเขาบรรทุกเพย์โหลดทางวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ ขึ้นไปบนนั้น การทดลอวคาดหวังว่าสาหร่ายที่ส่งขึ้นไปจะเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ ให้มันกลายเป็นออกซิเจน และเพิ่มการเติบโตของมวลชีวภาพ
ซึ่งจะเป็นประโย=น์มาก ในการปฏิบัติการอย่างยาวนานนั้นต้องการทรัพยากรมากกว่าที่สถานีอวกาศจะขนไปได้ เราคาดหวังว่ามวลชีวภาพของสาหร่ายพวกนี้สามารถเอามารับประทานเป็นอาหาร
ได้อีกด้วย ซึ่งมันสามารถเพิ่มมวลได้ผ่านการสังเคราะห์แสง
โฟโตไบโอรีแอคเตอร์ ซึ่งสร้างขึ้นมาหลังจะช่วยงานแอร์รีไซเคิลรีแอคเตอร์เก่า ซึ่งใช้งานระบบจากน้ำเป็นหลัก ระบบรีไซเคิลอันนี้ลดจำนวนน้ำที่ต้องใช้งานบนสถานีอวกาศลงจำนวน 400ลิตร ในการดำเนินการเปลื่ยนคาร์บอนได้ออกไซด์ กลับมาเป็นออกซิเจน ตัวระบบมีน้ำหนักที่ 750 กิโลกรัม มีเพย์โหลดขนาด 2 ไซส์ ที่ 1 เมตร และ 90 เซนติเมตร มันมีความสามารถในการเปลื่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ในอวกาศให้กลับมามีสภาพเป็นออกซิเจนได้ เมื่ออากาศไหลเข้าไป แก้สที่อยู่ในนั้นจะถูกดักจับเอาใว้อย่างรวดเร็วด้วยฟองของแอมโมเนีย และอาร์มิเนีย ซึ่งเป็นสสารที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมาผ่านฟองของแอมโมเนียอีกที่ เมื่อเราเอาคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจากอากาศด้วยการดักจับด้วยวัสดุนี้ มันทำให้คาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเป็นวัตถุบริสุทธ์ จากนั้นเราใช้งานไฮโดรเจนและมีเทนกับมัน ทำให้คุณสมบัติของมันเอามาใช้ประโยชน์ในทางเคมีได้ื ด้วยการสร้างน้ำและมีเทน น้ำสามารถนำมาแยกส่วนประกอบได้ด้วยการทำให้มันกลายสภาพเป็นไฮโดรเจน และออกซิเจน เดิมที่ออกซิเจนทั้งหมดที่เราทำการใช้งานในสถานีอวกาศมันจะถูกแยกมาจากน้ำที่ขนขึ้นไป การค้นพบกระบวนการอันนี้สร้างน้ำและมีเทนออกมาพอๆกัน
แต่ตอนนี้ยังไม่มีการใช้งานสำหรับมีเทน อันที่อยู่ในรูปของฝุ่นคาร์บอนที่อยู่ในอวกาศ แต่อย่างไรก็ตามความพยายามในการจะเอามีเทนบริสุทธ์มาใช้ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น มันเป็นความพยายามที่น่าสนใจ คาร์บอนที่หลงเหลือจะถูกเอาไปใง้ประโชยน์ เพื่อทำการรีซัพพลายวัตถุดิบในอวกาศ
ให้กลับมาอีกครั้งหนึ่ง รวมถึงใช้พืชเพื่อสร้างอาหารและออกซิเจน
“ความหวังสูงของของนักวิทยาศาสตร์ คือการใช้งานมันเพื่อเป็นแหลงผลิตวัตถุดิบระยะยาวบนต่างโลก
แต่ภารกิจนั้นจะไม่ทันเวลา ถ้าเกิดเราไม่เริ่มผลักดันการวิจัยตั้งแต่ตอนนี้เพื่อเป็นรากฐาน”
ระบบไบโอรีแอคเตอร์นี้มันสร้างทั้งอาหารและออกซิเจนผ่าน Chlorella vulgaris ซึ่งเป็นสาหร่ายที่ให้สารอาหารจำพวกโปรตีนสูงอย่างเหลือเชื่อ และมันจะลดปริมาณอาหารที่ต้องนำขึ้นไปส่งให้นักบินอวกาศได้ราวๆ30% เลยทีเดียว คุณสมบัติที่สำคัญที่เอามาใช้งานในเคสนี้ คือคุณสมบัติของการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย มันมีตั้งแต่ขนาดไม่โครเมตรอย่างพิโคแพลงตอน จนถึงสาหร่ายทะเลในกลุ่มแอลจียักษ์อย่างเคลป์ยักษ์ที่ยาวกว่า 60 เมตร นั่นหมายความว่ามันเป็นอาณาจักรที่หล่ายหลาย ขอบคุณธรรมชาติ และนักวิทยาศาสตร์ ที่ทำให้เรามาถึงจุดนี้
อ้างอิง
https://www.space.com/spacex-dragon-weird-science-cargo-crs-17.html
https://www.space.com/space-station-algae-experiment-fresh-air.html
https://www.space.com/spacex-dragon-space-station-arrival-nasa-crs17.html
https://www.space.com/42362-space-station-air-recycler-for-mars-astronauts.html
https://www.livescience.com/54979-what-are-algae.html
https://www.space.com/19903-space-food-evolution-nasa-photos.html
อนาคตของการท่องอวกาศอาจอยู่กับสาหร่าย
สถานีอวกาศนานาชาติ กำลังถูกใช้งานในสถานะของผู้ทดลองกับเทคโนโลยีใหม่ของนาซา
อย่างไบโอรีแอคเตอร์ ที่พยายามสร้างระบบพยุงชีวิตระยะยาวในอวกาศขึ้นมาอย่างรวดเร็ว
นักวิทยาศาสตร์พยายามจะสร้างระบบพยุงชีวิตในพึ้นที่ปิด
ที่สักวันมันจะทำให้นักบินอวกาศสามารถปฏิบัติการในอวกาศได้อย่างยาวนานโด้ยไม่ต้องมีสเบียงสนับสนุนจากโลก ซึ่งมันจำเป็นมากกับการที่จะทำการประคองชีวิตบนดาวอังคารหรือดวงจันทร์ ในการปฏิบัติการระยะยาวบนนั้นโดยองค์ประกอบที่สำคัญบนไบโอรีแอคเตอร์นั้น คือสาหร่าย โดยโฟโตไบโอรีแอคเตอร์ ได้ถูกนำขึ้นไปบนอวกาศ 3 วันก่อน ด้วยฝืมือของคาร์โกจากกระสวย
อวกาศดราก้อนของสเปซเอ็กซ์ ที่ส่งของขึ้นไปบนนั้นตั้ง 5000 ปอนดฺ์ จรวดไร้คนขับ
อย่างดราก้อน ลอยอยู่เหนือโลกราวๆ 250 กิโลเมตร บนนั้นมีสเบียงเพิ่มเติมสำหรับ
6 คน ถ้าจะทำการขยายกระสวยอวกาศให้รองรับคน 59 คนในอนาคต เช่นเดียว
กับที่พวกเขาบรรทุกเพย์โหลดทางวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ ขึ้นไปบนนั้น การทดลอวคาดหวังว่าสาหร่ายที่ส่งขึ้นไปจะเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ ให้มันกลายเป็นออกซิเจน และเพิ่มการเติบโตของมวลชีวภาพ
ซึ่งจะเป็นประโย=น์มาก ในการปฏิบัติการอย่างยาวนานนั้นต้องการทรัพยากรมากกว่าที่สถานีอวกาศจะขนไปได้ เราคาดหวังว่ามวลชีวภาพของสาหร่ายพวกนี้สามารถเอามารับประทานเป็นอาหาร
ได้อีกด้วย ซึ่งมันสามารถเพิ่มมวลได้ผ่านการสังเคราะห์แสง
โฟโตไบโอรีแอคเตอร์ ซึ่งสร้างขึ้นมาหลังจะช่วยงานแอร์รีไซเคิลรีแอคเตอร์เก่า ซึ่งใช้งานระบบจากน้ำเป็นหลัก ระบบรีไซเคิลอันนี้ลดจำนวนน้ำที่ต้องใช้งานบนสถานีอวกาศลงจำนวน 400ลิตร ในการดำเนินการเปลื่ยนคาร์บอนได้ออกไซด์ กลับมาเป็นออกซิเจน ตัวระบบมีน้ำหนักที่ 750 กิโลกรัม มีเพย์โหลดขนาด 2 ไซส์ ที่ 1 เมตร และ 90 เซนติเมตร มันมีความสามารถในการเปลื่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ในอวกาศให้กลับมามีสภาพเป็นออกซิเจนได้ เมื่ออากาศไหลเข้าไป แก้สที่อยู่ในนั้นจะถูกดักจับเอาใว้อย่างรวดเร็วด้วยฟองของแอมโมเนีย และอาร์มิเนีย ซึ่งเป็นสสารที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมาผ่านฟองของแอมโมเนียอีกที่ เมื่อเราเอาคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจากอากาศด้วยการดักจับด้วยวัสดุนี้ มันทำให้คาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเป็นวัตถุบริสุทธ์ จากนั้นเราใช้งานไฮโดรเจนและมีเทนกับมัน ทำให้คุณสมบัติของมันเอามาใช้ประโยชน์ในทางเคมีได้ื ด้วยการสร้างน้ำและมีเทน น้ำสามารถนำมาแยกส่วนประกอบได้ด้วยการทำให้มันกลายสภาพเป็นไฮโดรเจน และออกซิเจน เดิมที่ออกซิเจนทั้งหมดที่เราทำการใช้งานในสถานีอวกาศมันจะถูกแยกมาจากน้ำที่ขนขึ้นไป การค้นพบกระบวนการอันนี้สร้างน้ำและมีเทนออกมาพอๆกัน
แต่ตอนนี้ยังไม่มีการใช้งานสำหรับมีเทน อันที่อยู่ในรูปของฝุ่นคาร์บอนที่อยู่ในอวกาศ แต่อย่างไรก็ตามความพยายามในการจะเอามีเทนบริสุทธ์มาใช้ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์นั้น มันเป็นความพยายามที่น่าสนใจ คาร์บอนที่หลงเหลือจะถูกเอาไปใง้ประโชยน์ เพื่อทำการรีซัพพลายวัตถุดิบในอวกาศ
ให้กลับมาอีกครั้งหนึ่ง รวมถึงใช้พืชเพื่อสร้างอาหารและออกซิเจน
“ความหวังสูงของของนักวิทยาศาสตร์ คือการใช้งานมันเพื่อเป็นแหลงผลิตวัตถุดิบระยะยาวบนต่างโลก
แต่ภารกิจนั้นจะไม่ทันเวลา ถ้าเกิดเราไม่เริ่มผลักดันการวิจัยตั้งแต่ตอนนี้เพื่อเป็นรากฐาน”
ระบบไบโอรีแอคเตอร์นี้มันสร้างทั้งอาหารและออกซิเจนผ่าน Chlorella vulgaris ซึ่งเป็นสาหร่ายที่ให้สารอาหารจำพวกโปรตีนสูงอย่างเหลือเชื่อ และมันจะลดปริมาณอาหารที่ต้องนำขึ้นไปส่งให้นักบินอวกาศได้ราวๆ30% เลยทีเดียว คุณสมบัติที่สำคัญที่เอามาใช้งานในเคสนี้ คือคุณสมบัติของการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย มันมีตั้งแต่ขนาดไม่โครเมตรอย่างพิโคแพลงตอน จนถึงสาหร่ายทะเลในกลุ่มแอลจียักษ์อย่างเคลป์ยักษ์ที่ยาวกว่า 60 เมตร นั่นหมายความว่ามันเป็นอาณาจักรที่หล่ายหลาย ขอบคุณธรรมชาติ และนักวิทยาศาสตร์ ที่ทำให้เรามาถึงจุดนี้
อ้างอิง
https://www.space.com/spacex-dragon-weird-science-cargo-crs-17.html
https://www.space.com/space-station-algae-experiment-fresh-air.html
https://www.space.com/spacex-dragon-space-station-arrival-nasa-crs17.html
https://www.space.com/42362-space-station-air-recycler-for-mars-astronauts.html
https://www.livescience.com/54979-what-are-algae.html
https://www.space.com/19903-space-food-evolution-nasa-photos.html