คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
จริงๆ บอกเป็นระยะทางเป๊ะๆ ยาก เพราะแต่ละจุดความต้านทานต่างกัน และสภาพการรั่วของไฟออกมาต่างกัน
รั่วจากปลั๊กแช่น้ำสาย Line ตรงๆ จะไหลมากกว่ารั่วแบบผ่านวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า
ถ้าเสาไฟฟ้าแรงดันขนาดกลางและสูงล้ม ที่แรวดันเป็นระดับเป็น kV แน่นอนว่าอันตรายกว่าแรงต่ำ 220V แต่ไม่ได้ไปเป็นแบบหลายสิบเมตร ... เปรียบได้กรณีฟ้าผ่า ประจุไฟไหลลงอยู่บริเวณที่ระบายลงดินเท่านั้น
ถึงจะบอกเป้นตัวเลขระยะทางยาก แต่ปกติ สรุปสั้นๆ เป็นว่า แค่ใกล้ๆ จุดที่ไฟรั่ว ยิ่งทางเดินไฟฟ้าสะดวกแบบนี้ เพราะการที่ไฟดูด คือมันพยายามไหลลงดินให้ครบวงจรครับ
เมื่อน้ำท่วม ย่อมหมายความว่าดินแถวนั้นอุ้มน้ำหมด เป็นตัวนำที่ดี จึงไหลลงจุดตรงที่รั่วเท่านั้น
ที่ไฟดูดมีได้ 2 รูปแบบ
แบบแรก ไฟมีทางลงดินดีมากไหลครบวงจรอยู่แล้ว คนไปผ่านเส้นทางมัน
อีกแบบ อันนี้จะหนักมากในการดูดคน คือไฟไปรอ อย่างเช่นโครงเหล็กก แต่ยังไม่ครบวงจรลงดิน
คนไปแตะเป็นทางเดินลงดิน ไฟจึงผ่านตนเต็มๆ
เทียบไฟดูด ต่างจุดในร่างกาย ก็อันตรายต่างกัน
ขาพลาดไปโดนโครงเหล็กกตู้ที่ไฟรั่ว ไม่อันตรายเท่าแขนแตะ
ถ้าแขนซ้ายแตะ ไฟจะไหลผ่านหัวใจ ทำให้หยุดเต้นง่ายกว่า แขนขวาแตะ
คนที่ใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ อันตรายจากไฟดูดง่ายกว่าคนปกติ เพราะไปรบกวนการทำงาน (ขนาดเครื่องเอกซเรย์ที่สนารมบิน ยังให้สิทธิ์ไม่ต้องเช็ค)
บ้านใครมีผู้ป่วยแบบนี้ ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่วด้วย
ghrikt
รั่วจากปลั๊กแช่น้ำสาย Line ตรงๆ จะไหลมากกว่ารั่วแบบผ่านวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า
ถ้าเสาไฟฟ้าแรงดันขนาดกลางและสูงล้ม ที่แรวดันเป็นระดับเป็น kV แน่นอนว่าอันตรายกว่าแรงต่ำ 220V แต่ไม่ได้ไปเป็นแบบหลายสิบเมตร ... เปรียบได้กรณีฟ้าผ่า ประจุไฟไหลลงอยู่บริเวณที่ระบายลงดินเท่านั้น
ถึงจะบอกเป้นตัวเลขระยะทางยาก แต่ปกติ สรุปสั้นๆ เป็นว่า แค่ใกล้ๆ จุดที่ไฟรั่ว ยิ่งทางเดินไฟฟ้าสะดวกแบบนี้ เพราะการที่ไฟดูด คือมันพยายามไหลลงดินให้ครบวงจรครับ
เมื่อน้ำท่วม ย่อมหมายความว่าดินแถวนั้นอุ้มน้ำหมด เป็นตัวนำที่ดี จึงไหลลงจุดตรงที่รั่วเท่านั้น
ที่ไฟดูดมีได้ 2 รูปแบบ
แบบแรก ไฟมีทางลงดินดีมากไหลครบวงจรอยู่แล้ว คนไปผ่านเส้นทางมัน
อีกแบบ อันนี้จะหนักมากในการดูดคน คือไฟไปรอ อย่างเช่นโครงเหล็กก แต่ยังไม่ครบวงจรลงดิน
คนไปแตะเป็นทางเดินลงดิน ไฟจึงผ่านตนเต็มๆ
เทียบไฟดูด ต่างจุดในร่างกาย ก็อันตรายต่างกัน
ขาพลาดไปโดนโครงเหล็กกตู้ที่ไฟรั่ว ไม่อันตรายเท่าแขนแตะ
ถ้าแขนซ้ายแตะ ไฟจะไหลผ่านหัวใจ ทำให้หยุดเต้นง่ายกว่า แขนขวาแตะ
คนที่ใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ อันตรายจากไฟดูดง่ายกว่าคนปกติ เพราะไปรบกวนการทำงาน (ขนาดเครื่องเอกซเรย์ที่สนารมบิน ยังให้สิทธิ์ไม่ต้องเช็ค)
บ้านใครมีผู้ป่วยแบบนี้ ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่วด้วย
ghrikt
แสดงความคิดเห็น
เวลาน้ำท่วมและเจอกระแสไฟฟ้า ช็อตไกลสุดเท่าไหร่