อัมพาตจาก AF ป้องกันได้ ด้วยการหมั่นตรวจชีพจรด้วยตัวเอง
Atrial Fibrillation (AF) คือโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดที่พบบ่อยที่สุด ขณะเป็น AF หัวใจห้องบนจะเต้นเร็วมากกว่า350 ครั้งต่อนาที อาจทำให้มีเลือดตกค้างในหัวใจห้องบนหลุดขึ้นสู่สมองทำให้หลอดเลือดสมองอุดตันขาดเลือดเกิดภาวะอัมพาตเฉียบพลัน
ตรวจ AF ด้วยตัวเอง
วางนิ้วชี้, นิ้วกลาง, นิ้วนาง บนตำแหน่งที่เส้นเลือดแดงผ่าน เช่น ที่ข้อมือ ข้อพับแขน แล้วกดปลายนิ้วลงเบาๆ จับเวลา 1 นาที เพื่อนับจำนวนการเต้นของชีพจร
ชีพจรปกติ
สังเกตการเต้นจากชีพจร 3 ประการ คือ
1. ความเร็วอยู่ระหว่าง 60-100 ครั้งต่อนาที
2. จังหวะต้องคงที่ สม่ำเสมอ
3. ความแรงของชีพจรต้องคงที่
ชีพจร AF
1. เต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
2. ไม่สม่ำเสมอ เดี๋ยวเร็ว เดี๋ยวช้า
3. ความแรงไม่คงที่ เดี๋ยวแรง เดี๋ยวเบา ชีพจรจะหายไปเป็นช่วง ๆ
เครื่องวัดความดันโลหิต
เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในเลือด
ตรวจ AF ด้วย Application
โรคอัมพาตที่เกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ สามารถป้องกันได้ง่ายๆ เพียงหมั่นตรวจชีพจรด้วยตัวเอง
อัมพาตจาก AF ป้องกันได้ ด้วยการหมั่นตรวจชีพจรด้วยตัวเอง
Atrial Fibrillation (AF) คือโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดที่พบบ่อยที่สุด ขณะเป็น AF หัวใจห้องบนจะเต้นเร็วมากกว่า350 ครั้งต่อนาที อาจทำให้มีเลือดตกค้างในหัวใจห้องบนหลุดขึ้นสู่สมองทำให้หลอดเลือดสมองอุดตันขาดเลือดเกิดภาวะอัมพาตเฉียบพลัน
ตรวจ AF ด้วยตัวเอง
วางนิ้วชี้, นิ้วกลาง, นิ้วนาง บนตำแหน่งที่เส้นเลือดแดงผ่าน เช่น ที่ข้อมือ ข้อพับแขน แล้วกดปลายนิ้วลงเบาๆ จับเวลา 1 นาที เพื่อนับจำนวนการเต้นของชีพจร
ชีพจรปกติ
สังเกตการเต้นจากชีพจร 3 ประการ คือ
1. ความเร็วอยู่ระหว่าง 60-100 ครั้งต่อนาที
2. จังหวะต้องคงที่ สม่ำเสมอ
3. ความแรงของชีพจรต้องคงที่
ชีพจร AF
1. เต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
2. ไม่สม่ำเสมอ เดี๋ยวเร็ว เดี๋ยวช้า
3. ความแรงไม่คงที่ เดี๋ยวแรง เดี๋ยวเบา ชีพจรจะหายไปเป็นช่วง ๆ
เครื่องวัดความดันโลหิต
เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในเลือด
ตรวจ AF ด้วย Application
โรคอัมพาตที่เกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ สามารถป้องกันได้ง่ายๆ เพียงหมั่นตรวจชีพจรด้วยตัวเอง