คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
จำได้ว่าเป็นความบังเอิญ ชาวประมงออกไปหาปลา แล้วดันติดวาฬขึ้นมาด้วย ทีนี้ก็เกิดพายุใหญ่ขึ้น ตะเกียงบนเรือดันตกใส่ไหม้เรือไม้ รวมทั้งวาฬที่ล่ามาได้ด้วย แต่วาฬดันไหม้หมดช้ามาก และชาวประมงก็รู้ว่าไขมันปลาวาฬ นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้ได้ นี่คือต้นกำเนิดของการล่าวาฬครั้งใหญ่
เพราะต้องการนำไขมันปลาวาฬมาใช้ หลังจากนั้นไขมันปลาวาฬก็ไม่เพียงพอที่จะใช้เป็นเชื้อเพลิง จึงต้องหาน้ำมันที่มีลักษณะคล้ายกัน ในตะวันออกกลางบ่อน้ำมันก็ไม่ได้อยู่ในทะเล น้ำมันมีเยอะมาก คนยังไม่ได้นำมาใช้ ยังล้นออกมาจากบ่อผสมเข้ากับน้ำในแม่น้ำ เมื่อเริ่มหาต้นตอว่าน้ำมันมาจากไหน จึงพบว่ามีบ่อน้ำมันอยู่ และมีคุณสมบัติติดไฟได้ดี จากนั้นการล่าวาฬก็ลดลง และเริ่มนำน้ำมันมาศึกษาค้นคว้า
หลักการทำงาน เครื่องยนต์ดีเซล ประดิษฐ์โดยชาวเยอรมัน ชื่อ ดอกเตอร์ รูดอลฟ ดีเซล (Dr. Rudolf Diesel ) ในปี ค.ศ. 1897 โดยอาศัยการทำงานของกลจักร คาร์โนต์ (Carnot's cycle) ซึ่งคิดขึ้นโดยชาวฝรั่งเศสชื่อ ซาร์ดิ คาร์โน ( Sardi carnot) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1824
หลักการทำงานของเครื่องจักรดีเซล อากาศเมื่อถูกอัดตัวจะมีความร้อนสูงขึ้น แต่ถ้าอากาศถูกอัดตัวอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีการสูญเสียความร้อน(Adiabatic compression) ทั้งแรงดันและความร้อนจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (Boyle's law) เมื่อฉีดละอองน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าไปในอากาศที่ร้อนจัดจากการอัดตัว ก็จะเกิดการเผาไหม้ขึ้นอย่างทันทีทันใด ทำให้เกิดกำลังงานขึ้น กำลังงานที่เกิดขึ้นจะนำไปใช้ประโยชน์ในรูปของแรงขับหรือแรงผลักดัน ผ่านลูกสูบและก้านสูบทำให้เพลาข้อเหวี่ยงหมุน ณ กำลังอัดเดียวกัน อากาศที่อุณหภูมิเริ่มต้นสูงกว่า เมื่อถูกอัดย่อมมีอุณหภูมิสูงกว่าหรือร้อนกว่า
เครื่องยนต์ดีเซลแบ่งออกเป็นแบบใหญ่ๆ ได้เป็น 2 แบบคือ
1. เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (The 4-cycle Engine)
2. เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (The 2-cycle Engine)
เพราะต้องการนำไขมันปลาวาฬมาใช้ หลังจากนั้นไขมันปลาวาฬก็ไม่เพียงพอที่จะใช้เป็นเชื้อเพลิง จึงต้องหาน้ำมันที่มีลักษณะคล้ายกัน ในตะวันออกกลางบ่อน้ำมันก็ไม่ได้อยู่ในทะเล น้ำมันมีเยอะมาก คนยังไม่ได้นำมาใช้ ยังล้นออกมาจากบ่อผสมเข้ากับน้ำในแม่น้ำ เมื่อเริ่มหาต้นตอว่าน้ำมันมาจากไหน จึงพบว่ามีบ่อน้ำมันอยู่ และมีคุณสมบัติติดไฟได้ดี จากนั้นการล่าวาฬก็ลดลง และเริ่มนำน้ำมันมาศึกษาค้นคว้า
หลักการทำงาน เครื่องยนต์ดีเซล ประดิษฐ์โดยชาวเยอรมัน ชื่อ ดอกเตอร์ รูดอลฟ ดีเซล (Dr. Rudolf Diesel ) ในปี ค.ศ. 1897 โดยอาศัยการทำงานของกลจักร คาร์โนต์ (Carnot's cycle) ซึ่งคิดขึ้นโดยชาวฝรั่งเศสชื่อ ซาร์ดิ คาร์โน ( Sardi carnot) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1824
หลักการทำงานของเครื่องจักรดีเซล อากาศเมื่อถูกอัดตัวจะมีความร้อนสูงขึ้น แต่ถ้าอากาศถูกอัดตัวอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีการสูญเสียความร้อน(Adiabatic compression) ทั้งแรงดันและความร้อนจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (Boyle's law) เมื่อฉีดละอองน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าไปในอากาศที่ร้อนจัดจากการอัดตัว ก็จะเกิดการเผาไหม้ขึ้นอย่างทันทีทันใด ทำให้เกิดกำลังงานขึ้น กำลังงานที่เกิดขึ้นจะนำไปใช้ประโยชน์ในรูปของแรงขับหรือแรงผลักดัน ผ่านลูกสูบและก้านสูบทำให้เพลาข้อเหวี่ยงหมุน ณ กำลังอัดเดียวกัน อากาศที่อุณหภูมิเริ่มต้นสูงกว่า เมื่อถูกอัดย่อมมีอุณหภูมิสูงกว่าหรือร้อนกว่า
เครื่องยนต์ดีเซลแบ่งออกเป็นแบบใหญ่ๆ ได้เป็น 2 แบบคือ
1. เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (The 4-cycle Engine)
2. เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (The 2-cycle Engine)
แสดงความคิดเห็น
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
น้ำมันเชื้อเพลิง
น้ำมันเครื่อง
เชื้อเพลิง
ปิโตรเลียม (Petroleum)
เทคโนโลยี
คนสมัยก่อนรู้ได้ยังไงและรู้ตอนไหนคะ ว่าน้ำมันสามารถเอามาเป็นเชื้อเพลิงได้