ทุกวันนี้ ในประเทศไทย ใช้ น้ำมันวัน ละ ประมาณ 1 ล้าน บาร์เรล
โรงกลั่นในไทย กลันได้ประมาณ 9 แสน กว่า พอดีกัน
คลังไทยออย เก็บได้ 8 ล้าน บาร์เรล
...................
หากเราให้ top กำหนด ราคาที่จะใช้เติมในคลัง ยุทธศาสตร์
กำหนดทุก สามเดือน หรือหกเดือน ถ้าน้ำมันขึ้น top ก็กำไรๆๆๆขึ้นไป
แต่ถ้าน้ำมันตกลง ก็เอาน้ำมันที่สั่งมา ตีเข้าคลังยุทธศาสตร์ เพราะจะมีราคากำหนดแล้ว
เช่นจะซื้อเข้าคลังที่ 65
แต่ถ้าน้ำมันลง ไปที่ 60 ptt ตีราคาไว้ให้ที่ 65 ก็จะเป็นการจำกัดความเสี่ยง
คือจำกัดการขาดทุนราคาน้ำมัน แต่กำไรไม่จำกัดเวลาน้ำมันขึ้น น้ำมันขึ้นเอาน้ำมันในคลังมาจ่ายออกได้
แล้วก็พอรอบน้ำมันลง ก็ซื้อเติมกลับเข้าไป กำไรส่วนก็เข้า top
และก็เอามาเทรด ฟิวเจอร์น้ำมัน ให้คนไทยได้เทรดด้วย เรียกการบินไทยมาด้วย มาล็อกราคาน้ำมัน
จะได้ช่วยลดขาดทุนของ การบินไทย
เทรดน้ำมัน และฟิวเจอร์ต่างๆ และพยายามดังให้ราคาน้ำมันต้องอ้างอิงที่ไทย
รัฐบาลได้ภาษีเพิ่ม จากการเป็นตลาดเทรดน้ำมัน น่าจะเพิ่ม GDP ได้อีก 0.3 %
เก็บภาษีเพิ่มได้อีก 60000 ล้าน น่าจะได้เรือดำน้ำกับเรือฟริเกต ใหม่พอดี
_____________________________-
คลังสำรองน้ำมันของญี่ปุ่นมีการบริหารจัดการโดย Japan Oil Gas and Metals National Corporation หรือ JOGMEC ล่าสุดญี่ปุ่นมีคลังสำรองน้ำมันของภาครัฐ 10 คลัง ปริมาณรวม 252 ล้านบาร์เรล และ JOGMEC ยังเช่าคลังสำรองน้ำมันของบริษัทเอกชนในญี่ปุ่นรวมกันอีก 107 ล้านบาร์เรล รวมเป็นน้ำมันสำรอง 359 ล้านบาร์เรล
สำหรับคลังสำรองน้ำมัน (ในรูป) เป็นคลังสำรองน้ำมันที่เมืองฟูกูโอกะ เป็นคลังแบบแท็งก์บรรจุน้ำมันลอยน้ำ ส่วนหนึ่งและอีกส่วนหนึ่งตัวแท็งก์จมลงไปในทะเล ลึก 25 เมตร บนพื้นที่ที่มีสภาพเป็นเกาะกลางทะเล และเป็นคลังสำรองน้ำมันแห่งแรกของโลกที่ใช้วิธีการดังกล่าว เนื่องจากญี่ปุ่นประสบปัญหาแผ่นดินไหวบ่อยมาก จึงต้องมีการเก็บน้ำมันแบบลอยน้ำ
และแม้ว่าจะจมอยู่ในทะเลบางส่วน ก็สามารถใช้เรือบรรทุกขนาดใหญ่มาลากจูงออกไปได้ตลอดเวลาหากมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น เพราะมีการแบ่งตัวแท็งก์ออกเป็น 7 ใบ รวม 5.6 ล้านลิตร บริเวณโดยรวมของคลังมีการก่อสร้างเขื่อนหรือกำแพงคอนกรีตขนาดใหญ่สูงกว่า 3 เมตร เพื่อเป็นกำแพงป้องกันสึนามิ แท็งก์บรรจุน้ำมันแต่ละแท็งก์ยังมีวาล์วเปิดปิด เพื่อให้เกิดการถ่ายเทน้ำมันได้ตลอดเวลา เพื่อรักษาคุณภาพของเนื้อน้ำมันไม่ให้เสื่อมสภาพ
คลังสำรองน้ำมันแห่งนี้มีการกว้านซื้อน้ำมันดิบเข้ามาเก็บกักเมื่อปี 2539 ขณะนั้นราคาน้ำมันดิบอยู่ที่ 25 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล ล่าสุดน้ำมันดิบเฉลี่ยอยู่ที่ 100-105 เหรียญฯ จึงถือว่าญี่ปุ่นประสบความสำเร็จหรือมีกำไรจากการสำรอง หากมีการนำน้ำมันออกมาขายทำกำไร
คาดว่าปีหน้า ธพ.จะออกประกาศเรื่องการเพิ่มสำรองน้ำมัน จากปัจจุบัน 5% ให้เป็น 6% หรือเพิ่มจาก 36 วัน เป็น 44 วัน หรือจาก 26 ล้านบาร์เรล เป็น 31 ล้านบาร์เรล”
นายณัฐชาติ จารุจินดา ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การเพิ่มสำรองน้ำมันเป็น 6% ต้องใช้เวลา 3-5 ปี ในการก่อสร้าง และทำรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดย ปตท.ต้องเพิ่มสำรองน้ำมันอีก 1 ล้านบาร์เรล คาดว่าต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้างคลังสำรองน้ำมัน 4,000 ล้านบาท.
ว่าด้วยเรื่องคลังน้ำมันทางยุทธศาสตร์ และทำให้ ptt ไม่ขาดทุนสต๊อกเวลาน้ำมันลง เราก็เทรดน้ำมันได้ แยกบริษัทมาเข้า ipo
โรงกลั่นในไทย กลันได้ประมาณ 9 แสน กว่า พอดีกัน
คลังไทยออย เก็บได้ 8 ล้าน บาร์เรล
...................
หากเราให้ top กำหนด ราคาที่จะใช้เติมในคลัง ยุทธศาสตร์
กำหนดทุก สามเดือน หรือหกเดือน ถ้าน้ำมันขึ้น top ก็กำไรๆๆๆขึ้นไป
แต่ถ้าน้ำมันตกลง ก็เอาน้ำมันที่สั่งมา ตีเข้าคลังยุทธศาสตร์ เพราะจะมีราคากำหนดแล้ว
เช่นจะซื้อเข้าคลังที่ 65
แต่ถ้าน้ำมันลง ไปที่ 60 ptt ตีราคาไว้ให้ที่ 65 ก็จะเป็นการจำกัดความเสี่ยง
คือจำกัดการขาดทุนราคาน้ำมัน แต่กำไรไม่จำกัดเวลาน้ำมันขึ้น น้ำมันขึ้นเอาน้ำมันในคลังมาจ่ายออกได้
แล้วก็พอรอบน้ำมันลง ก็ซื้อเติมกลับเข้าไป กำไรส่วนก็เข้า top
และก็เอามาเทรด ฟิวเจอร์น้ำมัน ให้คนไทยได้เทรดด้วย เรียกการบินไทยมาด้วย มาล็อกราคาน้ำมัน
จะได้ช่วยลดขาดทุนของ การบินไทย
เทรดน้ำมัน และฟิวเจอร์ต่างๆ และพยายามดังให้ราคาน้ำมันต้องอ้างอิงที่ไทย
รัฐบาลได้ภาษีเพิ่ม จากการเป็นตลาดเทรดน้ำมัน น่าจะเพิ่ม GDP ได้อีก 0.3 %
เก็บภาษีเพิ่มได้อีก 60000 ล้าน น่าจะได้เรือดำน้ำกับเรือฟริเกต ใหม่พอดี
_____________________________-
คลังสำรองน้ำมันของญี่ปุ่นมีการบริหารจัดการโดย Japan Oil Gas and Metals National Corporation หรือ JOGMEC ล่าสุดญี่ปุ่นมีคลังสำรองน้ำมันของภาครัฐ 10 คลัง ปริมาณรวม 252 ล้านบาร์เรล และ JOGMEC ยังเช่าคลังสำรองน้ำมันของบริษัทเอกชนในญี่ปุ่นรวมกันอีก 107 ล้านบาร์เรล รวมเป็นน้ำมันสำรอง 359 ล้านบาร์เรล
สำหรับคลังสำรองน้ำมัน (ในรูป) เป็นคลังสำรองน้ำมันที่เมืองฟูกูโอกะ เป็นคลังแบบแท็งก์บรรจุน้ำมันลอยน้ำ ส่วนหนึ่งและอีกส่วนหนึ่งตัวแท็งก์จมลงไปในทะเล ลึก 25 เมตร บนพื้นที่ที่มีสภาพเป็นเกาะกลางทะเล และเป็นคลังสำรองน้ำมันแห่งแรกของโลกที่ใช้วิธีการดังกล่าว เนื่องจากญี่ปุ่นประสบปัญหาแผ่นดินไหวบ่อยมาก จึงต้องมีการเก็บน้ำมันแบบลอยน้ำ
และแม้ว่าจะจมอยู่ในทะเลบางส่วน ก็สามารถใช้เรือบรรทุกขนาดใหญ่มาลากจูงออกไปได้ตลอดเวลาหากมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น เพราะมีการแบ่งตัวแท็งก์ออกเป็น 7 ใบ รวม 5.6 ล้านลิตร บริเวณโดยรวมของคลังมีการก่อสร้างเขื่อนหรือกำแพงคอนกรีตขนาดใหญ่สูงกว่า 3 เมตร เพื่อเป็นกำแพงป้องกันสึนามิ แท็งก์บรรจุน้ำมันแต่ละแท็งก์ยังมีวาล์วเปิดปิด เพื่อให้เกิดการถ่ายเทน้ำมันได้ตลอดเวลา เพื่อรักษาคุณภาพของเนื้อน้ำมันไม่ให้เสื่อมสภาพ
คลังสำรองน้ำมันแห่งนี้มีการกว้านซื้อน้ำมันดิบเข้ามาเก็บกักเมื่อปี 2539 ขณะนั้นราคาน้ำมันดิบอยู่ที่ 25 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล ล่าสุดน้ำมันดิบเฉลี่ยอยู่ที่ 100-105 เหรียญฯ จึงถือว่าญี่ปุ่นประสบความสำเร็จหรือมีกำไรจากการสำรอง หากมีการนำน้ำมันออกมาขายทำกำไร
คาดว่าปีหน้า ธพ.จะออกประกาศเรื่องการเพิ่มสำรองน้ำมัน จากปัจจุบัน 5% ให้เป็น 6% หรือเพิ่มจาก 36 วัน เป็น 44 วัน หรือจาก 26 ล้านบาร์เรล เป็น 31 ล้านบาร์เรล”
นายณัฐชาติ จารุจินดา ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การเพิ่มสำรองน้ำมันเป็น 6% ต้องใช้เวลา 3-5 ปี ในการก่อสร้าง และทำรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดย ปตท.ต้องเพิ่มสำรองน้ำมันอีก 1 ล้านบาร์เรล คาดว่าต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้างคลังสำรองน้ำมัน 4,000 ล้านบาท.