กระทรวงกลาโหมรัสเซียได้ลำเลียงเครื่องบินขนส่งทหาร
An-124
และเครื่องบินไอพ่น
IL-62M และทหารมากกว่า 100 นาย
มุ่งหน้าไปยัง Caracas เมืองหลวงของ Venezuela
ท่ามกลางความขัดแย้งที่แหลมคม/ความตึงเครียดอย่างแรง
ที่ทวีเพิ่มขึ้นมากระหว่าง Venezuela กับ U.S.
ทั้งนี้ มีแหล่งข่าวภายในอ้างว่า
Chief of the General Staff of the Ground Forces
พันเอก Vasily Tonkoshkuro
หัวหน้าเสนาธิการทหารบกประจำกองทัพบก
ได้เดินทางมาร่วมกับทหารชุดนี้ในครั้งนี้ด้วย
ทั้งนี้ตามรายงานข่าวของสื่อเมื่อไม่นานมานี้
นายพล Vasily Tonkoshkurov ได้เดินทางมาถึงเมืองหลวงของเวเนซุเอลา
พร้อมกับทหารเกือบ 100 นาย เพื่อพบปะหารือแนวทางกับประธานาธิบดีเวเนซุเอลา
นอกจากนี้เครื่องบินขนส่งทหาร An-124 ยังได้นำอุปกรณ์หนักถึง 35 ตัน
โดยสิ่งของที่นำเข้าบรรจุอยู่ภายในตู้คอนเทนเนอร์
ยังไม่มีรายงานข่าวว่าข้างในมีอะไรบ้าง
https://vz.ru (Website ของรัสเซีย) รายงานว่า
เครื่องบินขนส่งทหารเดินทางมาถึงประเทศเวเนซุเอลา
โดยบินตรงจากมอสโกผ่านซีเรีย
อนึ่งตามรายงานข่าวของ
farnce24 ก่อนหน้านี้
ได้วิเคราะห์ว่า ผลการล่มสลายทางเศรษฐกิจเวเนซุเอลา
ทำให้เกิดวิกฤติทางการเมืองครั้งใหญ่
เมื่อผู้นำฝ่ายค้าน Juan Guaido ประกาศตนว่า
ตนเองคือ ประธานาธิบดีของประเทศ ในเดือนมกราคมที่ผ่านมา
และประธานาธิบดี Maduro ไม่ใช่ประธานาธิบดีอีกต่อไปแล้ว
แต่รัฐบาลของ Maduro ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียและจีน
ทั้งสองประเทศได้ประกาศกล่าวโทษนานาชาติที่สนับสนุนสหรัฐฯ
และระบุว่า พร้อมให้การสนับสนุนและหนุนหลังรัฐบาล Maduro
ด้วยเหตุผลที่ว่า ประธานาธิบดี Maduro
ได้รับการเลือกตั้งอีกครั้งเมื่อปีที่แล้วโดยได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมท้น
แม้ว่าจะมีการกล่าวอ้างว่ามีการทุจริต/ฉ้อโกงอย่างมโหฬาร
จากสื่อนานาชาติที่มีสหรัฐ ฯ เป็นกระบอกเสียงในการโหมโจมตี
สหรัฐอเมริกากำลังเป็นผู้นำหลักในการผลักดัน/หนุนหลัง
Guaido ซึ่งอดีตเป็นประธานรัฐสภาเวเนซุเอล่า
ทำให้ตอนนี้ Guaido ได้รับการสนับสนุนกว่า 50 ประเทศแล้ว
ในขณะเดียวกัน Maduro ก็ได้รับการสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากรัสเซีย
เพราะรัสเซียมีความกระตือรือร้นอย่างแรง ที่จะท้าทายการแทรกแซงของสหรัฐฯ
เช่นเดียวกับจีน ที่เกิดความกังวลเกี่ยวกับชะตากรรมเงินให้กู้ยืม
จำนวนหลายพันล้านดอลลาร์ ที่จีนได้ให้เวเนซุเอลา กู้ยืมไป
(กลัวไม่ได้ใช้คืน หรือถูกเบี้ยวหนี้ในอนาคต)
นอกเหนือจากการแลกเปลี่ยนกับน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
กับสินค้าอุปโภคบริโภค โครงสร้างพื้นฐานจากจีน
โดยเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกันทดแทน
อีกประเทศหนึ่งที่ขาดแคลน แต่อีกประเทศหนึ่งมีเหลือเฟือ
การปรากฏตัวของทหารรัสเซียจำนวนมากในเวเนซุอลา
คือความต้องการของรัสเซียที่จงใจและต้องการท้าทาย
อำนาจการบริหารงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ
ที่ทะเลาะกับเพื่อนบ้านเรือนเคียงไปทั่ว
(เม็กซิโก แคนาดา จีน เกาหลี สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น
ทั้งเรื่องราวภาษี และความมั่นคงที่สหรัฐฯ ต้องจ่ายเงินไป
เพื่อปกป้องความปลอดภัยจากภัยคุกคามของชาติอื่น)
แหล่งข่าวยังระบุว่าฐานทัพรัสเซียแห่งใหม่
อาจจะปรากฏโฉมหน้าในเวเนซุเอลา ภายในอนาคตอันใกล้นี้
แต่ทั้งนี้ แม้ว่าจะมีการแพร่กระจายข่าวในเวเนซุเอลา
แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันจากทางการเวเนซุเอลาและสถานทูตรัสเซียในคารากัส
ซึ่งต่างปฏิเสธที่จะแสดงความคิดเห็นกับ AFP
การเคลื่อนไหวของสหรัฐต่อเวเนซุเอล่า
ได้เพิ่มทวีขึ้นในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา
โดยประธานาธิบดีสหรัฐได้เตือนว่า " จะใช้หนทางทั้งหมด - โดยปริยาย
ซึ่งหมายความรวมถึงการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐ - กำลังจะได้รับการพิจารณา
ที่ผ่านมา การคว่ำบาตรของสหรัฐได้เพิ่มขึ้นในระดับที่
ห้ามนำเข้าน้ำมันดิบจากเวเนซุเอลา
ทั้งที่ในอดีต สหรัฐคือผู้ซื้อน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของเวเนซุเอลา
และคาดว่าเรื่องนี้เป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่ง
ที่ทำให้รัฐบาลเวเนซุเอลาต้องใช้มาตรการทางการเงิน
เพราะเงินเวเนซุเอลามีมูลค่าด้อยค่าลงมาก
ทำให้เกิดวิกฤติเงินเฟ้ออย่างรุนแรงภายในประเทศ
อนึ่ง ก่อนหน้านี้รัสเซียได้ส่งสัญญาณสนับสนุน Maduro
ด้วยส่งเครื่องบินทิ้งระเบิด TU-160 จำนวน 2 ลำ
ไปยังเวเนซุเอลาเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา
เพื่อเข้าร่วมการฝึกทหาร/ซ้อมรบกับกองทัพเวเนซุเอลา
ประธานาธิบดีรัสเซียมีประวัติที่ผ่านมาก็ไม่เบาเหมือนกัน
เพราะมักจะสั่งการให้ทหารเข้าสู่ในสนามสู้รบหลายแห่ง
เพื่อท้าทายกลยุทธ์ของสหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ซีเรียและยูเครน
อย่างไรก็ตามการที่รัสเซียจะตั้งฐานทัพในละตินอเมริกา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวเนซุเอลา จะเป็นภัยคุกคามกองทัพสหรัฐ
และจะเป็นบททดสอบทางการเมืองสำหรับ Trump
ซึ่งมักจะหลีกเลี่ยงการวิจารณ์ Putin ตลอดมา
เรียบเรียง/ที่มา
https://reut.rs/2YgUSLr
https://bit.ly/2CA3NhK
https://bit.ly/2Fxsg9g
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
เรื่องเล่าไร้สาระ
คิวบาเคยอนุญาตให้รัสเซียมาตั้งขีปนาวุธที่ประเทศ
พร้อมโจมตีสหรัฐได้ใกล้ที่สุด ในยุคสงครามเย็น
ในขณะที่สหรัฐฯ ก็ตั้งขีปนาวุธในตุรกี
และหลายประเทศในกลุ่ม
Nato
และไทยยังเป็น
พันธมิตรหลักนอกเนโท
ในยุคนั้นการพัฒนาขีปนาวุธทางไกลยังไม่ทันสมัยมากนัก
เรื่องนี้ ทำให้สหรัฐฯ ต้องประท้วงตอบโต้ว่าจะใช้กำลังอาวุธ
ซึ่งในยุคนั้นรัสเซียยังไม่มีความพร้อมมากนัก
จึงถอนตัวออกจากความขัดแย้งดังกล่าว
( จากนั้นในการประชุมได้มีการหารือถึงผลที่จะกระทบความสมดุลทางยุทธศาสตร์
หัวหน้าเจ้าหน้าที่เชื่อว่าขีปนาวุธจะเป็นตัวถ่วงสมดุลอย่างมาก
แต่รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม
โรเบิร์ต แมคนามาร่า ไม่เห็นด้วยในเรื่องนั้น
เขาเชื่อว่าขีปนาวุธจะไม่ส่งผลใด ๆ ในด้านยุททธศาสตร์
ส่วนฐานยิงอีก 40 ฐานนั้นจะสร้างความแตกต่างเพียงเล็กน้อย
ในภาพรวมของความสมดุลด้านยุทธศาสตร์
สหรัฐนั้นมีหัวรบมากกว่า 5,000 หัวรบอยู่แล้วในขณะที่โซเวียตมีเพียง 300 เท่านั้น
เขาสรุปว่าการที่โซเวียตมีเพิ่มขึ้นอีก 40 เป็น 340 ลูกนั้น
จะไม่เปลี่ยนแปลงสมดุลด้านยุทธศาสตร์เลยแม้แต่น้อย
ในปีค.ศ. 1990 เขาพูดซ้ำอีกว่า
"มันจะไม่สร้างความแตกต่างใด ๆ กองทัพจะไม่เสียสมดุล
ผมไม่เชื่อว่ามันจะเป็นไปได้ทั้งเมื่อก่อนและในตอนนี้ " ที่มา
อ้างอิง )
เหตุการณ์
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
(Credit : รายละเอียดตามลิงค์ด้านบนนี้
วิกฤตการณ์ครั้งนี้มีการถอดบทเรียนในการเรียนการสอน
เรื่องภาวะผู้นำ การตัดสินใจ ในหลายมหาวิทยาลัยในยุคหนึ่ง)
วิกฤตการณ์ครั้งนั้นเป็นการประลองพลังระหว่างผู้นำสองมหาอำนาจในยุคนั้น
รัสเซีย มี
นีกีตา ครุชชอฟ เป็น เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์เทียบเท่าประธานาธิบดีในทุกวันนี้
สหรัฐฯ มี
จอห์น เอฟ. เคนเนดี เป็น ประธานาธิบดี
ส่วนจีนในยุคนั้นกำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา
มีเหมาเจ๋อตุงเป็นประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน
อนึ่ง เมื่อไม่นานมานี้ คิวบาก็อนุญาตให้รัสเซียใช้สนามบินในคิวบา
โดยอ้างว่า เพื่อภารกิจมนุษยธรรมในการลำเลียงอาหารและยา
เพื่อส่งมอบให้กับประชาชนเวเนซูเอล่า
ทำให้สหรัฐ ฯ แม้ว่าไม่พอใจแต่ก็คัดค้านลำบากในเรื่องนี้
9.
10.
11.
12.
รัสเซียส่งทหารเข้าเวเนซุเอลาเพื่อส่งสัญญาณเตือนประธานาธิบดีสหรัฐ
มุ่งหน้าไปยัง Caracas เมืองหลวงของ Venezuela
ท่ามกลางความขัดแย้งที่แหลมคม/ความตึงเครียดอย่างแรง
ที่ทวีเพิ่มขึ้นมากระหว่าง Venezuela กับ U.S.
ทั้งนี้ มีแหล่งข่าวภายในอ้างว่า
Chief of the General Staff of the Ground Forces
พันเอก Vasily Tonkoshkuro
หัวหน้าเสนาธิการทหารบกประจำกองทัพบก
ได้เดินทางมาร่วมกับทหารชุดนี้ในครั้งนี้ด้วย
ทั้งนี้ตามรายงานข่าวของสื่อเมื่อไม่นานมานี้
นายพล Vasily Tonkoshkurov ได้เดินทางมาถึงเมืองหลวงของเวเนซุเอลา
พร้อมกับทหารเกือบ 100 นาย เพื่อพบปะหารือแนวทางกับประธานาธิบดีเวเนซุเอลา
นอกจากนี้เครื่องบินขนส่งทหาร An-124 ยังได้นำอุปกรณ์หนักถึง 35 ตัน
โดยสิ่งของที่นำเข้าบรรจุอยู่ภายในตู้คอนเทนเนอร์
ยังไม่มีรายงานข่าวว่าข้างในมีอะไรบ้าง
https://vz.ru (Website ของรัสเซีย) รายงานว่า
เครื่องบินขนส่งทหารเดินทางมาถึงประเทศเวเนซุเอลา
โดยบินตรงจากมอสโกผ่านซีเรีย
อนึ่งตามรายงานข่าวของ farnce24 ก่อนหน้านี้
ได้วิเคราะห์ว่า ผลการล่มสลายทางเศรษฐกิจเวเนซุเอลา
ทำให้เกิดวิกฤติทางการเมืองครั้งใหญ่
เมื่อผู้นำฝ่ายค้าน Juan Guaido ประกาศตนว่า
ตนเองคือ ประธานาธิบดีของประเทศ ในเดือนมกราคมที่ผ่านมา
และประธานาธิบดี Maduro ไม่ใช่ประธานาธิบดีอีกต่อไปแล้ว
แต่รัฐบาลของ Maduro ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียและจีน
ทั้งสองประเทศได้ประกาศกล่าวโทษนานาชาติที่สนับสนุนสหรัฐฯ
และระบุว่า พร้อมให้การสนับสนุนและหนุนหลังรัฐบาล Maduro
ด้วยเหตุผลที่ว่า ประธานาธิบดี Maduro
ได้รับการเลือกตั้งอีกครั้งเมื่อปีที่แล้วโดยได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมท้น
แม้ว่าจะมีการกล่าวอ้างว่ามีการทุจริต/ฉ้อโกงอย่างมโหฬาร
จากสื่อนานาชาติที่มีสหรัฐ ฯ เป็นกระบอกเสียงในการโหมโจมตี
สหรัฐอเมริกากำลังเป็นผู้นำหลักในการผลักดัน/หนุนหลัง
Guaido ซึ่งอดีตเป็นประธานรัฐสภาเวเนซุเอล่า
ทำให้ตอนนี้ Guaido ได้รับการสนับสนุนกว่า 50 ประเทศแล้ว
ในขณะเดียวกัน Maduro ก็ได้รับการสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากรัสเซีย
เพราะรัสเซียมีความกระตือรือร้นอย่างแรง ที่จะท้าทายการแทรกแซงของสหรัฐฯ
เช่นเดียวกับจีน ที่เกิดความกังวลเกี่ยวกับชะตากรรมเงินให้กู้ยืม
จำนวนหลายพันล้านดอลลาร์ ที่จีนได้ให้เวเนซุเอลา กู้ยืมไป
(กลัวไม่ได้ใช้คืน หรือถูกเบี้ยวหนี้ในอนาคต)
นอกเหนือจากการแลกเปลี่ยนกับน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
กับสินค้าอุปโภคบริโภค โครงสร้างพื้นฐานจากจีน
โดยเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกันทดแทน
อีกประเทศหนึ่งที่ขาดแคลน แต่อีกประเทศหนึ่งมีเหลือเฟือ
การปรากฏตัวของทหารรัสเซียจำนวนมากในเวเนซุอลา
คือความต้องการของรัสเซียที่จงใจและต้องการท้าทาย
อำนาจการบริหารงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ
ที่ทะเลาะกับเพื่อนบ้านเรือนเคียงไปทั่ว
(เม็กซิโก แคนาดา จีน เกาหลี สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น
ทั้งเรื่องราวภาษี และความมั่นคงที่สหรัฐฯ ต้องจ่ายเงินไป
เพื่อปกป้องความปลอดภัยจากภัยคุกคามของชาติอื่น)
แหล่งข่าวยังระบุว่าฐานทัพรัสเซียแห่งใหม่
อาจจะปรากฏโฉมหน้าในเวเนซุเอลา ภายในอนาคตอันใกล้นี้
แต่ทั้งนี้ แม้ว่าจะมีการแพร่กระจายข่าวในเวเนซุเอลา
แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันจากทางการเวเนซุเอลาและสถานทูตรัสเซียในคารากัส
ซึ่งต่างปฏิเสธที่จะแสดงความคิดเห็นกับ AFP
การเคลื่อนไหวของสหรัฐต่อเวเนซุเอล่า
ได้เพิ่มทวีขึ้นในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา
โดยประธานาธิบดีสหรัฐได้เตือนว่า " จะใช้หนทางทั้งหมด - โดยปริยาย
ซึ่งหมายความรวมถึงการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐ - กำลังจะได้รับการพิจารณา
ที่ผ่านมา การคว่ำบาตรของสหรัฐได้เพิ่มขึ้นในระดับที่
ห้ามนำเข้าน้ำมันดิบจากเวเนซุเอลา
ทั้งที่ในอดีต สหรัฐคือผู้ซื้อน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของเวเนซุเอลา
และคาดว่าเรื่องนี้เป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่ง
ที่ทำให้รัฐบาลเวเนซุเอลาต้องใช้มาตรการทางการเงิน
เพราะเงินเวเนซุเอลามีมูลค่าด้อยค่าลงมาก
ทำให้เกิดวิกฤติเงินเฟ้ออย่างรุนแรงภายในประเทศ
อนึ่ง ก่อนหน้านี้รัสเซียได้ส่งสัญญาณสนับสนุน Maduro
ด้วยส่งเครื่องบินทิ้งระเบิด TU-160 จำนวน 2 ลำ
ไปยังเวเนซุเอลาเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา
เพื่อเข้าร่วมการฝึกทหาร/ซ้อมรบกับกองทัพเวเนซุเอลา
ประธานาธิบดีรัสเซียมีประวัติที่ผ่านมาก็ไม่เบาเหมือนกัน
เพราะมักจะสั่งการให้ทหารเข้าสู่ในสนามสู้รบหลายแห่ง
เพื่อท้าทายกลยุทธ์ของสหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ซีเรียและยูเครน
อย่างไรก็ตามการที่รัสเซียจะตั้งฐานทัพในละตินอเมริกา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวเนซุเอลา จะเป็นภัยคุกคามกองทัพสหรัฐ
และจะเป็นบททดสอบทางการเมืองสำหรับ Trump
ซึ่งมักจะหลีกเลี่ยงการวิจารณ์ Putin ตลอดมา
เรียบเรียง/ที่มา
https://reut.rs/2YgUSLr
https://bit.ly/2CA3NhK
https://bit.ly/2Fxsg9g
เรื่องเล่าไร้สาระ
คิวบาเคยอนุญาตให้รัสเซียมาตั้งขีปนาวุธที่ประเทศ
พร้อมโจมตีสหรัฐได้ใกล้ที่สุด ในยุคสงครามเย็น
ในขณะที่สหรัฐฯ ก็ตั้งขีปนาวุธในตุรกี
และหลายประเทศในกลุ่ม Nato
และไทยยังเป็น พันธมิตรหลักนอกเนโท
ในยุคนั้นการพัฒนาขีปนาวุธทางไกลยังไม่ทันสมัยมากนัก
เรื่องนี้ ทำให้สหรัฐฯ ต้องประท้วงตอบโต้ว่าจะใช้กำลังอาวุธ
ซึ่งในยุคนั้นรัสเซียยังไม่มีความพร้อมมากนัก
จึงถอนตัวออกจากความขัดแย้งดังกล่าว
( จากนั้นในการประชุมได้มีการหารือถึงผลที่จะกระทบความสมดุลทางยุทธศาสตร์
หัวหน้าเจ้าหน้าที่เชื่อว่าขีปนาวุธจะเป็นตัวถ่วงสมดุลอย่างมาก
แต่รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม โรเบิร์ต แมคนามาร่า ไม่เห็นด้วยในเรื่องนั้น
เขาเชื่อว่าขีปนาวุธจะไม่ส่งผลใด ๆ ในด้านยุททธศาสตร์
ส่วนฐานยิงอีก 40 ฐานนั้นจะสร้างความแตกต่างเพียงเล็กน้อย
ในภาพรวมของความสมดุลด้านยุทธศาสตร์
สหรัฐนั้นมีหัวรบมากกว่า 5,000 หัวรบอยู่แล้วในขณะที่โซเวียตมีเพียง 300 เท่านั้น
เขาสรุปว่าการที่โซเวียตมีเพิ่มขึ้นอีก 40 เป็น 340 ลูกนั้น
จะไม่เปลี่ยนแปลงสมดุลด้านยุทธศาสตร์เลยแม้แต่น้อย
ในปีค.ศ. 1990 เขาพูดซ้ำอีกว่า
"มันจะไม่สร้างความแตกต่างใด ๆ กองทัพจะไม่เสียสมดุล
ผมไม่เชื่อว่ามันจะเป็นไปได้ทั้งเมื่อก่อนและในตอนนี้ " ที่มา อ้างอิง )
เหตุการณ์ วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา
(Credit : รายละเอียดตามลิงค์ด้านบนนี้
วิกฤตการณ์ครั้งนี้มีการถอดบทเรียนในการเรียนการสอน
เรื่องภาวะผู้นำ การตัดสินใจ ในหลายมหาวิทยาลัยในยุคหนึ่ง)
วิกฤตการณ์ครั้งนั้นเป็นการประลองพลังระหว่างผู้นำสองมหาอำนาจในยุคนั้น
รัสเซีย มี นีกีตา ครุชชอฟ เป็น เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์เทียบเท่าประธานาธิบดีในทุกวันนี้
สหรัฐฯ มี จอห์น เอฟ. เคนเนดี เป็น ประธานาธิบดี
ส่วนจีนในยุคนั้นกำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา
มีเหมาเจ๋อตุงเป็นประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน
อนึ่ง เมื่อไม่นานมานี้ คิวบาก็อนุญาตให้รัสเซียใช้สนามบินในคิวบา
โดยอ้างว่า เพื่อภารกิจมนุษยธรรมในการลำเลียงอาหารและยา
เพื่อส่งมอบให้กับประชาชนเวเนซูเอล่า
ทำให้สหรัฐ ฯ แม้ว่าไม่พอใจแต่ก็คัดค้านลำบากในเรื่องนี้