มีผลแล้ววันนี้ พ.ร.บ. ใหม่ให้สถาบันการเงินส่งข้อมูลให้สรรพากรหากรับเงินเกินปีละ 3,000 ครั้ง ส่งข้อมูลครั้งแรกปีหน้า
พ.ร.บ.ร่างแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร เปิดให้แสดงความคิดเห็นมาตั้งแต่เดือนเมษายนปีที่แล้ว และผ่านสภาสนช. ช่วงปลายปีที่ผ่านมา วันนี้ก็ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว โดยมีผลทันทีในวันที่ 21 มีนาคม 2562 และสถาบันการเงินต้องส่งข้อมูลรอบแรกในวันที่ 31 มีนาคม 2563
กฎหมายฉบับที่ประกาศจริงต่างจากร่างไปเล็กน้อย โดยอนุญาตให้ออกกฎกระทรวงให้เพิ่มเพดานของยอดธุรกรรมได้ เช่น จาก "ปีละ 3,000 ครั้ง" กลายเป็น "ปีละ 5,000 ครั้ง" หรือจาก "ปีละ 400 ครั้งและยอดรับรวมเกิน 2 ล้านบาท" เป็น "ปีละ 400 ครั้งและยอดรับรวมเกิน 4 ล้านบาท" เป็นต้น
รายละเอียดอื่น จะออกประกาศกระทรวงตามมาภายใน 180 วัน
นับแต่การเปิดบริการพร้อมเพย์ ทางกรมสรรพากรสนับสนุนให้ใช้งานอย่างหนัก จนมีข่าวลือเมื่อปี 2017 ว่า หากมีเงินเข้าออกบัญชีเกิน 10 ครั้งต่อวันจะถูกตรวจสอบภาษี ซึ่งทางกรมสรรพากรออกมาระบุว่าไม่เป็นความจริง แต่หลังจากร่างพ.ร.บ. ออกมา ก็นับว่าข่าวลือใกล้เคียงกับในกฎหมายทีเดียว
ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา
https://www.blognone.com/node/108757
สอบถามค่ะ คือ
1."ปีละ 3,000 ครั้ง"
ถ้ามีการ
รับโอนเงิน คือ ทั้งปี มีรับเงินเกิน 3,000 ครั้งใช่ไหมค่ะ แบงค์ถึงจะดึงข้อมูลส่งให้ สรรพากร
เช่น ขายของ >> ลูกค้าโอนเข้าบัญชี SCB ของเรา (คิดเป็นครั้งที่ 1) >> เราโอนออกไปที่ TMB ชื่อเรา (คิดเป็นครั้งที่ 2)
แบบนี้ไหมค่ะ มีการรับโอน ภายในชื่อบัญชีเดียวกัน เกิน 3,000 ครั้ง ต่อปี หรือเกิน 250 ครั้ง/เดือน
หรือ
2. ปีละ 400 ครั้งและยอดรับรวมเกิน 2 ล้านบาท
ถ้าภายใน 1 ปี
รับโอนเงิน ทั้งปี
เกิน 400 ครั้ง ธนาคารจะไปดูยอดว่า
ยอดเกิน 2,000,000 บาท ไหม ถึงส่งข้อมูลให้ สรรพากรใช่ไหมคะ
ถ้าทั้งปี รับโอน เกิน 400 ครั้ง แต่ยอดเงินไม่เกิน 2,000,000 บาท จะไม่เข้า พรบ
ส่วนตัว น้องสาวรับทำรูปการ์ตูน fanart ไรพวกนี้ค่ะ ทั้งปี รับโอน 400 ครั้ง น่าจะเกือบๆถึง โอนกันเองภายในชื่อเดียวกันซะมากกว่า 555 แต่ยอดรับโอนประมาณ 2-3 แสนบาท ทั้งปี
จะเข้า พรบ ไหมค่ะ ถ้าเข้าจะได้ไป + ต้นทุนจ่ายภาษีเพิ่ม
ขอบคุณค่ะ
พรบ ใหม่ แบงค์ต้องส่งข้อมูลให้สรรพากร หากรับ-โอนเงินเกินปีละ 3,000 ครั้ง คือ ยังไงหรอค่ะ ?
พ.ร.บ.ร่างแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร เปิดให้แสดงความคิดเห็นมาตั้งแต่เดือนเมษายนปีที่แล้ว และผ่านสภาสนช. ช่วงปลายปีที่ผ่านมา วันนี้ก็ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว โดยมีผลทันทีในวันที่ 21 มีนาคม 2562 และสถาบันการเงินต้องส่งข้อมูลรอบแรกในวันที่ 31 มีนาคม 2563
กฎหมายฉบับที่ประกาศจริงต่างจากร่างไปเล็กน้อย โดยอนุญาตให้ออกกฎกระทรวงให้เพิ่มเพดานของยอดธุรกรรมได้ เช่น จาก "ปีละ 3,000 ครั้ง" กลายเป็น "ปีละ 5,000 ครั้ง" หรือจาก "ปีละ 400 ครั้งและยอดรับรวมเกิน 2 ล้านบาท" เป็น "ปีละ 400 ครั้งและยอดรับรวมเกิน 4 ล้านบาท" เป็นต้น
รายละเอียดอื่น จะออกประกาศกระทรวงตามมาภายใน 180 วัน
นับแต่การเปิดบริการพร้อมเพย์ ทางกรมสรรพากรสนับสนุนให้ใช้งานอย่างหนัก จนมีข่าวลือเมื่อปี 2017 ว่า หากมีเงินเข้าออกบัญชีเกิน 10 ครั้งต่อวันจะถูกตรวจสอบภาษี ซึ่งทางกรมสรรพากรออกมาระบุว่าไม่เป็นความจริง แต่หลังจากร่างพ.ร.บ. ออกมา ก็นับว่าข่าวลือใกล้เคียงกับในกฎหมายทีเดียว
ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา
https://www.blognone.com/node/108757
สอบถามค่ะ คือ
1."ปีละ 3,000 ครั้ง"
ถ้ามีการ รับโอนเงิน คือ ทั้งปี มีรับเงินเกิน 3,000 ครั้งใช่ไหมค่ะ แบงค์ถึงจะดึงข้อมูลส่งให้ สรรพากร
เช่น ขายของ >> ลูกค้าโอนเข้าบัญชี SCB ของเรา (คิดเป็นครั้งที่ 1) >> เราโอนออกไปที่ TMB ชื่อเรา (คิดเป็นครั้งที่ 2)
แบบนี้ไหมค่ะ มีการรับโอน ภายในชื่อบัญชีเดียวกัน เกิน 3,000 ครั้ง ต่อปี หรือเกิน 250 ครั้ง/เดือน
หรือ
2. ปีละ 400 ครั้งและยอดรับรวมเกิน 2 ล้านบาท
ถ้าภายใน 1 ปี รับโอนเงิน ทั้งปี เกิน 400 ครั้ง ธนาคารจะไปดูยอดว่า ยอดเกิน 2,000,000 บาท ไหม ถึงส่งข้อมูลให้ สรรพากรใช่ไหมคะ
ถ้าทั้งปี รับโอน เกิน 400 ครั้ง แต่ยอดเงินไม่เกิน 2,000,000 บาท จะไม่เข้า พรบ
ส่วนตัว น้องสาวรับทำรูปการ์ตูน fanart ไรพวกนี้ค่ะ ทั้งปี รับโอน 400 ครั้ง น่าจะเกือบๆถึง โอนกันเองภายในชื่อเดียวกันซะมากกว่า 555 แต่ยอดรับโอนประมาณ 2-3 แสนบาท ทั้งปี
จะเข้า พรบ ไหมค่ะ ถ้าเข้าจะได้ไป + ต้นทุนจ่ายภาษีเพิ่ม
ขอบคุณค่ะ