กระทู้นี้เป็นการเสนอในมุมมองที่เป็นปัญหากัน ระว่าง "ใช่" กับ "ไม่ใช่"
WM อย่าเพิ่งเซนซิทีฝลบกระทู้นะครับ
"เจ้าหน้าที่ของรัฐ" มีกฎหมายระบุไว้ชัดเจนว่าคือใครบ้าง
พรบ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 2542 ระบุไว้ 3 ลักษณะ
แต่กรณีนี้ จะยกมาเพียงลักษณะ "ข้าราชการ" ซึ่งอยู่ในมาตรา 3 (1)
(1) ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง
ในการประกอบการพิจารณา ต้องใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องระบุรายละเอียดของ "ข้าราชการ" ว่า คือใคร
พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 ให้นิยามว่า ........
"ข้าราชการ" หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทต่างๆ
โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือน ซึ่งสามารถแบ่งข้าราชการออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ข้าราชการการเมือง และข้าราชการประจำ
ในกรณี "ข้าราชการการเมือง"
ข้าราชการการเมือง ตาม พรบ.ระเบียบข้าราชการการเมือง 2535 ได้แก่
นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ฯลฯ
ซึ่ง เมื่อพิจารณาตาม พรบ.ระเบียบข้าราชการการเมือง 2535
นายกรัฐมนตรีคือเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยปฏิเสธไม่ได้
แต่ ๆๆๆๆๆๆๆๆ
ให้ย้อนกลับไปที่ พรบ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 2542 อีกครั้ง
สาหรับข้าราชการการเมือง ประเภท นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีแต่ละคนซึ่งเป็นบุคคล
และคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นคณะบุคคล อันถือว่าองค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร
มิได้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ทั้งหมด
จะต้องพิจารณาดูลักษณะของการกระทำของคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีแต่ละคน
ว่าเป็นการใช้อำนาจทางปกครองหรือไม่
ถ้าไม่ใช้อำนาจปกครองไม่ถือว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ถ้าใช้อำนาจปกครองก็ถือว่าเป็น “เจ้าหน้าที่ของรัฐ”
นี่อาจเป็นที่มาของ "เจ้าหน้าที่รัฐ" ตามที่มีคนเห็นต่างก็ได้นะครับ
ส่วนตัวผมเอง โนคอมเมนท์ครับ
"เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ถือเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐ" และ "เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ไม่ถือเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐ"
WM อย่าเพิ่งเซนซิทีฝลบกระทู้นะครับ
"เจ้าหน้าที่ของรัฐ" มีกฎหมายระบุไว้ชัดเจนว่าคือใครบ้าง
พรบ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 2542 ระบุไว้ 3 ลักษณะ
แต่กรณีนี้ จะยกมาเพียงลักษณะ "ข้าราชการ" ซึ่งอยู่ในมาตรา 3 (1)
(1) ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง
ในการประกอบการพิจารณา ต้องใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องระบุรายละเอียดของ "ข้าราชการ" ว่า คือใคร
พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 ให้นิยามว่า ........
"ข้าราชการ" หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทต่างๆ
โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือน ซึ่งสามารถแบ่งข้าราชการออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ข้าราชการการเมือง และข้าราชการประจำ
ในกรณี "ข้าราชการการเมือง"
ข้าราชการการเมือง ตาม พรบ.ระเบียบข้าราชการการเมือง 2535 ได้แก่
นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ฯลฯ
ซึ่ง เมื่อพิจารณาตาม พรบ.ระเบียบข้าราชการการเมือง 2535
นายกรัฐมนตรีคือเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยปฏิเสธไม่ได้
แต่ ๆๆๆๆๆๆๆๆ
ให้ย้อนกลับไปที่ พรบ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 2542 อีกครั้ง
สาหรับข้าราชการการเมือง ประเภท นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีแต่ละคนซึ่งเป็นบุคคล
และคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นคณะบุคคล อันถือว่าองค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร
มิได้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ทั้งหมด
จะต้องพิจารณาดูลักษณะของการกระทำของคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีแต่ละคน
ว่าเป็นการใช้อำนาจทางปกครองหรือไม่
ถ้าไม่ใช้อำนาจปกครองไม่ถือว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ถ้าใช้อำนาจปกครองก็ถือว่าเป็น “เจ้าหน้าที่ของรัฐ”
นี่อาจเป็นที่มาของ "เจ้าหน้าที่รัฐ" ตามที่มีคนเห็นต่างก็ได้นะครับ
ส่วนตัวผมเอง โนคอมเมนท์ครับ