ถ้าถูกเลิกจ้างแล้วนายจ้างจ่ายเงินชดเชยให้ อายุงานเกิน 5 ปี สามารถเลือกที่จะยื่นรวมกับรายได้ปกติ หรือแยกยื่นได้ใช่ไหมคะ
แล้วถ้ายื่นภาษีของเงินชดเชยที่ถูกเลิกจ้างออนไลน์ผ่านเวบกรมสรรพากร ถ้าแยกยื่นก็ติ๊กเลือกช่องในกรอบสีแดง ถูกไหมคะ
แล้วถ้ายื่นรวมกับรายได้ปกติ คือไม่ต้องติ๊กช่องนั้น แต่ใส่รวมไปเป็น 40(1) แบบนี้ไม่รู้ว่าเข้าใจถูกไหมคะ
อยากลองคำนวณดูก่อนว่าควรยื่นแบบไหนดีค่ะ ลองเข้าไปกรอกแล้วก็ยังงงๆ
เพราะลองทำทั้ง 2 แบบ ปรากฎว่ายื่นรวมได้คืนภาษีมากกว่า
อย่างการลดหย่อนของเงินชดเชยคือได้ไม่เกิน 3 แสน ไม่ว่าเราจะยื่นรวมกับรายได้ปกติ หรือยื่นแยกกัน ก็หัก 3 แสนเหมือนกันรึเปล่าคะ
ยังไม่ทันคิดของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพก็งงแล้วค่ะ ใครรู้ช่วยชี้แนะหน่อยนะคะ
ถามเพิ่มค่ะ
ถ้ามีเงินได้ปกติ 2 เดือน เงินชดเชย 12 เดือน กับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ถ้าแยกยื่นเราเข้าโปรแกรมครั้งเดียวกันไหมคะ
หรือเข้าไปยื่นเฉพาะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพต่างหากอีกทีคะ
ปล.เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ถ้าสมมติจะลองคำนวณภาษีแบบยื่นรวม ต้องติ๊กช่อง เงินค่าขายกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ RMF ใช่ไหมคะ
ถามการยื่นภาษีของเงินชดเชยที่ถูกเลิกจ้างออนไลน์
แล้วถ้ายื่นภาษีของเงินชดเชยที่ถูกเลิกจ้างออนไลน์ผ่านเวบกรมสรรพากร ถ้าแยกยื่นก็ติ๊กเลือกช่องในกรอบสีแดง ถูกไหมคะ
แล้วถ้ายื่นรวมกับรายได้ปกติ คือไม่ต้องติ๊กช่องนั้น แต่ใส่รวมไปเป็น 40(1) แบบนี้ไม่รู้ว่าเข้าใจถูกไหมคะ
อยากลองคำนวณดูก่อนว่าควรยื่นแบบไหนดีค่ะ ลองเข้าไปกรอกแล้วก็ยังงงๆ
เพราะลองทำทั้ง 2 แบบ ปรากฎว่ายื่นรวมได้คืนภาษีมากกว่า
อย่างการลดหย่อนของเงินชดเชยคือได้ไม่เกิน 3 แสน ไม่ว่าเราจะยื่นรวมกับรายได้ปกติ หรือยื่นแยกกัน ก็หัก 3 แสนเหมือนกันรึเปล่าคะ
ยังไม่ทันคิดของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพก็งงแล้วค่ะ ใครรู้ช่วยชี้แนะหน่อยนะคะ
ถามเพิ่มค่ะ
ถ้ามีเงินได้ปกติ 2 เดือน เงินชดเชย 12 เดือน กับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ถ้าแยกยื่นเราเข้าโปรแกรมครั้งเดียวกันไหมคะ
หรือเข้าไปยื่นเฉพาะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพต่างหากอีกทีคะ
ปล.เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ถ้าสมมติจะลองคำนวณภาษีแบบยื่นรวม ต้องติ๊กช่อง เงินค่าขายกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ RMF ใช่ไหมคะ