รู้สึกดีมากที่คนส่วนใหญ่เริ่มตระหนักกับคำว่า “คุณภาพอากาศ” “AQI” หรือ “PM 2.5” โพสนี้จะไม่กล่างถึงว่าค่าเหล่านี้มีความสำคัญอย่างไรครับเพราะมีนักวิชาการ แพทย์หลายท่านได้ให้ข้อมูลไว้มากพอสมควร
โพสนี้จะใช้เครื่อง PM2.5 detector ยี่ห้อ SNDWAY ในการทดสอบนะครับโดยจะตั้งทิ้งไว้ 10 นาทีเพื่อได้ค่าที่นิ่งพอ และจะทดสอบแบบเปิดและปิดโหมด Recirculation (โหมดใช้อากาศเฉพาะในรถยนต์) โดยมีแบรนด์รถที่เทสดังนี้ครับ
HONDA ปี 2010 , Mercedes ปี 2016 , Audi ปี 2018 และ BMW ปี 2019 ครับ ถ้าใครทดสอบแบรนด์อื่นๆแล้วอัพเดทได้เลยนะครับเพื่อเป็นประโยชน์แก่หลายๆท่านครับ
มาเรื่มตัวแรกก่อนคือ
1.
Honda ปี 2010 ...ปีนี้ 2019 แล้วอายุรถก็ปาไปจะ 10 ปี วิ่งเกือบ 180,000 กิโลเมตร จะขายก็ขาดทุน เก็บไว้ก็เป็นความทรงจำดีๆ 555 สิ่งที่เราคิดคือไม่น่าจะกรองอากาศที่มีอนุภาคเล็กๆได้ เพราะมีเพื่อนทดสอบยี่ห้อ Nissan march ได้ค่าประมาณ 30-60 น่าเสียดายที่ไม่ได้มีรูป แต่ผลออกมาคือ...
โหมด Recirculation ทำได้ดีมากครับ ค่อนข้างประทับใจที่เดียว แทบจะไม่มีอากาศข้างนอก leak เข้ามา ค่าจะอยู่ไม่เกิน 20 microgram / m3 เทียบ AQI ก็ไม่น่าเกิน 100 US AQI
หากถ้าปิดโหมดผลลัพท์ที่ได้คือ...ฝุ่นเข้ามาหมดจ้า
แต่นางก็พยายาม...
2.
Mercedes ปี 2016 ด้วยความเป็นรถยุโรป ที่มีความเด่นเรื่องการใช้ Chacoal เป็นส่วนประกอบของ filter ให้สังเกตที่ 1 ปี แอร์จะเริ่มเหม็นเปรี้ยว (แอร์เน่า) เพราะchacoal เริ่มหมดอายุ
นอกจากที่เป็นขวัญใจประชาชนตั้งแต่สมัยอาม่า อากงยังวัยรุ่น อีกทั้งรุ่นใหม่ๆ ดันชอบปิดโหมด Recirculation ให้เราแบบอัตโนมัติทั้งๆที่เราไม่ต้องการ ก็มีความคาดหวังค่อนข้างสูง สรุปผลคือ
ก่อนสตาร์ทรถ...
โหมด Recirculation ทำได้ดีมาก PM 2.5 อยู่ 1-2microgram / m3
ลองมาปิดโหมดบ้าง (รถชอบปิดให้เรา) ก็ไม่ผิดหวัง ค่า PM 2.5 ก็พอๆกับ Recirculation เลย
3.
Audi ปี 2018 ถ้าถามเพื่อนที่อยู่ที่ยุโรปเค้าจะตอบว่าการขับขี่แบบ quattro นั่นเป็นสิ่งที่ทำให้ Audi ยืนหยัดจนถึงทุกวันนี้ แต่เรื่องสุขภาพล่ะ เป็นยังไงบ้าง
โหมด Recirculation ได้ 0 ฟังไม่ผิด 0 จริงๆ นานๆที 1
โอเคประทับใจต่อไปมาลองแบบปิดโหมดบ้าง...พระเจ้า เท่าข้างนอกเลย
สรุป...ขับแบบใช้อากาศในรถต่อไปนะครับแบรนด์นี้
และมาถึงแบรนด์สุดท้ายของเรา
BMW ปี 2019 ขวัญใจวัยรุ่น พร้อมความคุ้มค่าที่แบรนด์อื่นให้ไม่ได้ คือ BSI ( BMW Service Inclusive) ที่ตั้งแต่เราออกรถจากศูนย์ ไม่ต้องกังวลค่าใช้จ่ายอะไรเลย เพราะนาง Service ให้ฟรีแบบไม่มีค่าใช้จ่าย 3-5 ปี (จริงๆน่าจะบวกไว้แล้วมั้ง 555)
อ่ะมาดูกัน...แบบ Recirculation ได้ 1-5 ไม่มี 0
และมาลองแบบใช้อากาศภายนอกล่ะก็โอเค...ทำได้เท่า Mercedes เลย
สรุป...
เครื่องกรองอากาศในรถสมควรมี หน้ากากก็ควรใส่บนรถ ถ้าคุณขับรถบางแบรนด์ ที่การกรองไม่ดี
ประทับใจมากๆคือ HONDA 2010 ที่ไม่ได้คาดหวังนางมากแต่ผลลัพท์ดีกว่ารุ่นใหม่ๆบางแบรนด์
รถฝั่งยุโรปทำได้ดีมาก เรื่องการกรอง PM2.5(รถตั้งแต่ปี 2016 ขึ้นไป เพราะก่อนปี 2016 ยังไม่เคยเทส)
แต่ควรจะเปิดโหมด Recirculation เพราะบางแบรนด์อย่างเช่น Audi ถ้าปิดโหมด...ขมคอเลย
หวังว่าจะมีประโยชน์แก่ทุกท่าน ใครลองแบรนด์อื่นๆมาอัพเดทให้ฟังกันด้วยนะครับ
เครื่องกรองอากาศบนรถจำเป็นไหม
โพสนี้จะใช้เครื่อง PM2.5 detector ยี่ห้อ SNDWAY ในการทดสอบนะครับโดยจะตั้งทิ้งไว้ 10 นาทีเพื่อได้ค่าที่นิ่งพอ และจะทดสอบแบบเปิดและปิดโหมด Recirculation (โหมดใช้อากาศเฉพาะในรถยนต์) โดยมีแบรนด์รถที่เทสดังนี้ครับ
HONDA ปี 2010 , Mercedes ปี 2016 , Audi ปี 2018 และ BMW ปี 2019 ครับ ถ้าใครทดสอบแบรนด์อื่นๆแล้วอัพเดทได้เลยนะครับเพื่อเป็นประโยชน์แก่หลายๆท่านครับ
มาเรื่มตัวแรกก่อนคือ
1.Honda ปี 2010 ...ปีนี้ 2019 แล้วอายุรถก็ปาไปจะ 10 ปี วิ่งเกือบ 180,000 กิโลเมตร จะขายก็ขาดทุน เก็บไว้ก็เป็นความทรงจำดีๆ 555 สิ่งที่เราคิดคือไม่น่าจะกรองอากาศที่มีอนุภาคเล็กๆได้ เพราะมีเพื่อนทดสอบยี่ห้อ Nissan march ได้ค่าประมาณ 30-60 น่าเสียดายที่ไม่ได้มีรูป แต่ผลออกมาคือ...
โหมด Recirculation ทำได้ดีมากครับ ค่อนข้างประทับใจที่เดียว แทบจะไม่มีอากาศข้างนอก leak เข้ามา ค่าจะอยู่ไม่เกิน 20 microgram / m3 เทียบ AQI ก็ไม่น่าเกิน 100 US AQI
หากถ้าปิดโหมดผลลัพท์ที่ได้คือ...ฝุ่นเข้ามาหมดจ้า
แต่นางก็พยายาม...
2.Mercedes ปี 2016 ด้วยความเป็นรถยุโรป ที่มีความเด่นเรื่องการใช้ Chacoal เป็นส่วนประกอบของ filter ให้สังเกตที่ 1 ปี แอร์จะเริ่มเหม็นเปรี้ยว (แอร์เน่า) เพราะchacoal เริ่มหมดอายุ
นอกจากที่เป็นขวัญใจประชาชนตั้งแต่สมัยอาม่า อากงยังวัยรุ่น อีกทั้งรุ่นใหม่ๆ ดันชอบปิดโหมด Recirculation ให้เราแบบอัตโนมัติทั้งๆที่เราไม่ต้องการ ก็มีความคาดหวังค่อนข้างสูง สรุปผลคือ
ก่อนสตาร์ทรถ...
โหมด Recirculation ทำได้ดีมาก PM 2.5 อยู่ 1-2microgram / m3
ลองมาปิดโหมดบ้าง (รถชอบปิดให้เรา) ก็ไม่ผิดหวัง ค่า PM 2.5 ก็พอๆกับ Recirculation เลย
3.Audi ปี 2018 ถ้าถามเพื่อนที่อยู่ที่ยุโรปเค้าจะตอบว่าการขับขี่แบบ quattro นั่นเป็นสิ่งที่ทำให้ Audi ยืนหยัดจนถึงทุกวันนี้ แต่เรื่องสุขภาพล่ะ เป็นยังไงบ้าง
โหมด Recirculation ได้ 0 ฟังไม่ผิด 0 จริงๆ นานๆที 1
โอเคประทับใจต่อไปมาลองแบบปิดโหมดบ้าง...พระเจ้า เท่าข้างนอกเลย
สรุป...ขับแบบใช้อากาศในรถต่อไปนะครับแบรนด์นี้
และมาถึงแบรนด์สุดท้ายของเรา BMW ปี 2019 ขวัญใจวัยรุ่น พร้อมความคุ้มค่าที่แบรนด์อื่นให้ไม่ได้ คือ BSI ( BMW Service Inclusive) ที่ตั้งแต่เราออกรถจากศูนย์ ไม่ต้องกังวลค่าใช้จ่ายอะไรเลย เพราะนาง Service ให้ฟรีแบบไม่มีค่าใช้จ่าย 3-5 ปี (จริงๆน่าจะบวกไว้แล้วมั้ง 555)
อ่ะมาดูกัน...แบบ Recirculation ได้ 1-5 ไม่มี 0
และมาลองแบบใช้อากาศภายนอกล่ะก็โอเค...ทำได้เท่า Mercedes เลย
สรุป...
เครื่องกรองอากาศในรถสมควรมี หน้ากากก็ควรใส่บนรถ ถ้าคุณขับรถบางแบรนด์ ที่การกรองไม่ดี
ประทับใจมากๆคือ HONDA 2010 ที่ไม่ได้คาดหวังนางมากแต่ผลลัพท์ดีกว่ารุ่นใหม่ๆบางแบรนด์
รถฝั่งยุโรปทำได้ดีมาก เรื่องการกรอง PM2.5(รถตั้งแต่ปี 2016 ขึ้นไป เพราะก่อนปี 2016 ยังไม่เคยเทส)
แต่ควรจะเปิดโหมด Recirculation เพราะบางแบรนด์อย่างเช่น Audi ถ้าปิดโหมด...ขมคอเลย
หวังว่าจะมีประโยชน์แก่ทุกท่าน ใครลองแบรนด์อื่นๆมาอัพเดทให้ฟังกันด้วยนะครับ