1. หากถูกเลิกจ้าง บุคคลใดต่อไปนี้ได้รับเงินชดเชยตามกฎหมายอย่างถูกต้อง
ข้อ 1) เอทำงานติดต่อกันครบ 90 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
ข้อ 2) บีทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 60 วัน
ข้อ 3) ซีทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 120 วัน
ข้อ 4) เอฟทำงานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
2. ชมพู่อายุ 55 ปีบริบูรณ์ ปัจจุบันไม่ได้ทำงานแล้ว หากชมพู่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นระยะเวลา 17 ปี จงคำนวณหาอัตราเงินบำนาญชราภาพต่อเดือนที่ชมพู่จะได้รับ
ข้อ 1) 20% ต่อเดือน
ข้อ 2) 21.5% ต่อเดือน
ข้อ 3) 23% ต่อเดือน
ข้อ 4) 24.5% ต่อเดือน
3. ปัจจัยใดต่อไปนี้ที่ส่งผลต่อจำนวนเงินที่จะได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อพ้นสมาชิกภาพ
I. อัตราเงินสะสมและอัตราเงินสมทบ
II. อัตราการขึ้นเงินเดือนต่อปี
III. อัตราผลตอบแทนของกองทุนต่อปี
ข้อ 1) I และ II
ข้อ 2) II และ III
ข้อ 3) I และ III
ข้อ 4) I, II และ III
4. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อ 1) หากออกจากงานเนื่องจากเกษียณ ทุพพลภาพ หรือตาย จะได้รับยกเว้นภาษี ทั้งเงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์ของเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบ
ข้อ 2) กรณีอายุงานน้อยกว่า 5 ปี หากนำเงินออกจากกองทุน จะต้องนำเงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์ของเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบไปเสียภาษี
ข้อ 3) กรณีอายุงานมากกว่า 5 ปี หากนำเงินออกจากกองทุน จะต้องนำเงินสมทบ ผลประโยชน์ของเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบไปเสียภาษี
ข้อ 4) เงินสะสมที่ลูกจ้างจ่ายเข้ากองทุนสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง และไม่เกิน 490,000 บาท จะได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปคำนวณภาษี
5. วรรณวราเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของบริษัทมาเป็นเวลา 20 ปี เมื่อเกษียณอายุจะได้รับเงินก้อนใดบ้าง
I. เงินสะสม
II. เงินสมทบ
III. ผลประโยชน์ของเงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสมทบ
ข้อ 1) I และ II
ข้อ 2) II และ III
ข้อ 3) I และ III
ข้อ 4) I, II และ III
6. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
ข้อ 1) เป็นแหล่งเงินออมสำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ และไม่ได้อยู่ในระบบบำเหน็จบำนาญภาครัฐหรือเอกชน
ข้อ 2) สมาชิกจะต้องส่งเงินสะสมขั้นต่ำ 50 บาททุกเดือน แต่ไม่เกินปีละ 13,200 บาท
ข้อ 3) สมาชิกที่มีอายุระหว่าง 15 – 30 ปี จะได้รับเงินสมทบจากรัฐบาล 50% ของเงินสะสม แต่ไม่เกินปีละ 600 บาท
ข้อ 4) สมาชิกที่ขอรับเงินคืนก่อนอายุ 60 ปี จะได้รับเงินสะสมและดอกผลของเงินสะสม แต่จะไม่ได้รับเงินสมทบจากรัฐบาล
7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินต่างๆ
ข้อ 1) ลงทุนในหุ้น มีสิทธิได้รับเงินปันผล และกำไรจากส่วนต่างราคา
ข้อ 2) ลงทุนในตราสารหนี้ ได้รับดอกเบี้ยคงที่ มีความเสี่ยงต่ำ เงินต้นปลอดภัย
ข้อ 3) ลงทุนใน LTF นำมาลดหย่อนภาษีได้ ต้องลงทุนทุกปี และถือครองไว้อย่างน้อย 5 ปีปฏิทิน
ข้อ 4) ลงทุนในกองทุนรวม มีมืออาชีพบริหารเงินให้ มีเงินน้อยก็ลงทุนได้
8. ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องรู้ก่อนวางแผนการเงินเพื่อวัยเกษียณ
I. อายุที่จะเกษียณ และจำนวนปีที่จะมีชีวิตอยู่หลังเกษียณ
II. จำนวนเงินที่ต้องใช้ในวัยเกษียณ และจำนวนเงินที่มีเพื่อวัยเกษียณจากแหล่งต่างๆ
III. จำนวนเงินที่ต้องออมเพื่อวัยเกษียณ และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
ข้อ 1) I และ II
ข้อ 2) I และ III
ข้อ 3) II และ III
ข้อ 4) I, II และ III
9. อดุลมีรายได้ 50,000 บาทต่อเดือน จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพในอัตรา 10% ของรายได้ต่อเดือน และซื้อประกันแบบบำนาญ 100,000 บาท จะสามารถซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมหุ้นระยะยาวได้สูงสุดเป็นจำนวนเงินเท่าใด
ข้อ 1) 60,000 บาท
ข้อ 2) 90,000 บาท
ข้อ 3) 250,000 บาท
ข้อ 4) 500,000 บาท
10. ข้อใดไม่ใช่เหตุผลสำคัญของการวางแผนเกษียณอายุ
ข้อ 1) โครงสร้างประชากรเปลี่ยน คนแต่งงานและมีลูกน้อยลง จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
ข้อ 2) วิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้า คนมีสุขภาพดีขึ้น อายุยืนยาวขึ้น
ข้อ 3) การขาดความเข้าใจถึงการใช้จ่ายเงิน อาจทำให้มีเงินไม่พอใช้ในวัยเกษียณ
ข้อ 4) สวัสดิการหลังเกษียณที่มีอยู่อาจไม่เพียงพอกับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น
11. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับใบแจ้งยอดเงินของสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อ 1) สมาชิกจะได้รับใบแจ้งยอดเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพปีละ 2 ครั้ง
ข้อ 2) ยอดยกมา คือ ยอดเงินในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ยกมาจากปีก่อนหน้า
ข้อ 3) ยอดรับโอนระหว่างปี คือ ยอดเงินที่เกิดขึ้นจากการย้ายสถานที่ทำงาน
ข้อ 4) ยอดเงินระหว่างปี คือ ยอดเงินที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพระหว่างปี
12. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการวางแผนเกษียณผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อ 1) การหักเงินสะสมเข้ากองทุนควรหักในอัตราต่ำสุด เพื่อไม่ให้มีปัญหาการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน
ข้อ 2) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของบางบริษัทจะมีทางเลือกลงทุน (Employee’s Choice) ให้เลือกลงทุนตามช่วงอายุ ผลตอบแทนที่ต้องการ และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้
ข้อ 3) หากลาออกจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สมาชิกจะได้รับเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์จากกองทุนตามเงื่อนไข
ข้อ 4) เมื่อเกษียณอายุ สมาชิกสามารถเลือกที่จะรับเงินก้อนแรกจากกองทุน และทยอยรับส่วนที่เหลือเป็นงวดๆ ได้
การวางแผนเกษณียน สไตล์มนุษย์เงินเดือน ช่วยหาคำตอบให้หน่อยครับ ✌✌✌
ข้อ 1) เอทำงานติดต่อกันครบ 90 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
ข้อ 2) บีทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 60 วัน
ข้อ 3) ซีทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 120 วัน
ข้อ 4) เอฟทำงานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
2. ชมพู่อายุ 55 ปีบริบูรณ์ ปัจจุบันไม่ได้ทำงานแล้ว หากชมพู่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นระยะเวลา 17 ปี จงคำนวณหาอัตราเงินบำนาญชราภาพต่อเดือนที่ชมพู่จะได้รับ
ข้อ 1) 20% ต่อเดือน
ข้อ 2) 21.5% ต่อเดือน
ข้อ 3) 23% ต่อเดือน
ข้อ 4) 24.5% ต่อเดือน
3. ปัจจัยใดต่อไปนี้ที่ส่งผลต่อจำนวนเงินที่จะได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อพ้นสมาชิกภาพ
I. อัตราเงินสะสมและอัตราเงินสมทบ
II. อัตราการขึ้นเงินเดือนต่อปี
III. อัตราผลตอบแทนของกองทุนต่อปี
ข้อ 1) I และ II
ข้อ 2) II และ III
ข้อ 3) I และ III
ข้อ 4) I, II และ III
4. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อ 1) หากออกจากงานเนื่องจากเกษียณ ทุพพลภาพ หรือตาย จะได้รับยกเว้นภาษี ทั้งเงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์ของเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบ
ข้อ 2) กรณีอายุงานน้อยกว่า 5 ปี หากนำเงินออกจากกองทุน จะต้องนำเงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์ของเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบไปเสียภาษี
ข้อ 3) กรณีอายุงานมากกว่า 5 ปี หากนำเงินออกจากกองทุน จะต้องนำเงินสมทบ ผลประโยชน์ของเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบไปเสียภาษี
ข้อ 4) เงินสะสมที่ลูกจ้างจ่ายเข้ากองทุนสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง และไม่เกิน 490,000 บาท จะได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปคำนวณภาษี
5. วรรณวราเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของบริษัทมาเป็นเวลา 20 ปี เมื่อเกษียณอายุจะได้รับเงินก้อนใดบ้าง
I. เงินสะสม
II. เงินสมทบ
III. ผลประโยชน์ของเงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสมทบ
ข้อ 1) I และ II
ข้อ 2) II และ III
ข้อ 3) I และ III
ข้อ 4) I, II และ III
6. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
ข้อ 1) เป็นแหล่งเงินออมสำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ และไม่ได้อยู่ในระบบบำเหน็จบำนาญภาครัฐหรือเอกชน
ข้อ 2) สมาชิกจะต้องส่งเงินสะสมขั้นต่ำ 50 บาททุกเดือน แต่ไม่เกินปีละ 13,200 บาท
ข้อ 3) สมาชิกที่มีอายุระหว่าง 15 – 30 ปี จะได้รับเงินสมทบจากรัฐบาล 50% ของเงินสะสม แต่ไม่เกินปีละ 600 บาท
ข้อ 4) สมาชิกที่ขอรับเงินคืนก่อนอายุ 60 ปี จะได้รับเงินสะสมและดอกผลของเงินสะสม แต่จะไม่ได้รับเงินสมทบจากรัฐบาล
7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินต่างๆ
ข้อ 1) ลงทุนในหุ้น มีสิทธิได้รับเงินปันผล และกำไรจากส่วนต่างราคา
ข้อ 2) ลงทุนในตราสารหนี้ ได้รับดอกเบี้ยคงที่ มีความเสี่ยงต่ำ เงินต้นปลอดภัย
ข้อ 3) ลงทุนใน LTF นำมาลดหย่อนภาษีได้ ต้องลงทุนทุกปี และถือครองไว้อย่างน้อย 5 ปีปฏิทิน
ข้อ 4) ลงทุนในกองทุนรวม มีมืออาชีพบริหารเงินให้ มีเงินน้อยก็ลงทุนได้
8. ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องรู้ก่อนวางแผนการเงินเพื่อวัยเกษียณ
I. อายุที่จะเกษียณ และจำนวนปีที่จะมีชีวิตอยู่หลังเกษียณ
II. จำนวนเงินที่ต้องใช้ในวัยเกษียณ และจำนวนเงินที่มีเพื่อวัยเกษียณจากแหล่งต่างๆ
III. จำนวนเงินที่ต้องออมเพื่อวัยเกษียณ และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
ข้อ 1) I และ II
ข้อ 2) I และ III
ข้อ 3) II และ III
ข้อ 4) I, II และ III
9. อดุลมีรายได้ 50,000 บาทต่อเดือน จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพในอัตรา 10% ของรายได้ต่อเดือน และซื้อประกันแบบบำนาญ 100,000 บาท จะสามารถซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมหุ้นระยะยาวได้สูงสุดเป็นจำนวนเงินเท่าใด
ข้อ 1) 60,000 บาท
ข้อ 2) 90,000 บาท
ข้อ 3) 250,000 บาท
ข้อ 4) 500,000 บาท
10. ข้อใดไม่ใช่เหตุผลสำคัญของการวางแผนเกษียณอายุ
ข้อ 1) โครงสร้างประชากรเปลี่ยน คนแต่งงานและมีลูกน้อยลง จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
ข้อ 2) วิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้า คนมีสุขภาพดีขึ้น อายุยืนยาวขึ้น
ข้อ 3) การขาดความเข้าใจถึงการใช้จ่ายเงิน อาจทำให้มีเงินไม่พอใช้ในวัยเกษียณ
ข้อ 4) สวัสดิการหลังเกษียณที่มีอยู่อาจไม่เพียงพอกับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น
11. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับใบแจ้งยอดเงินของสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อ 1) สมาชิกจะได้รับใบแจ้งยอดเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพปีละ 2 ครั้ง
ข้อ 2) ยอดยกมา คือ ยอดเงินในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ยกมาจากปีก่อนหน้า
ข้อ 3) ยอดรับโอนระหว่างปี คือ ยอดเงินที่เกิดขึ้นจากการย้ายสถานที่ทำงาน
ข้อ 4) ยอดเงินระหว่างปี คือ ยอดเงินที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพระหว่างปี
12. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการวางแผนเกษียณผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อ 1) การหักเงินสะสมเข้ากองทุนควรหักในอัตราต่ำสุด เพื่อไม่ให้มีปัญหาการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน
ข้อ 2) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของบางบริษัทจะมีทางเลือกลงทุน (Employee’s Choice) ให้เลือกลงทุนตามช่วงอายุ ผลตอบแทนที่ต้องการ และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้
ข้อ 3) หากลาออกจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สมาชิกจะได้รับเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์จากกองทุนตามเงื่อนไข
ข้อ 4) เมื่อเกษียณอายุ สมาชิกสามารถเลือกที่จะรับเงินก้อนแรกจากกองทุน และทยอยรับส่วนที่เหลือเป็นงวดๆ ได้