ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ เห็นว่า “พระพุทธอุบัติภูมิอยู่ในประเทศไทย ไม่ใช่อินเดียหรือเนปาล”
จากการค้นหาข้อมูลบางอย่าง ทำให้ผมไปพบบทความเรื่อง “จารึกวัดศรีชุมกับแนวคิดใหม่เรื่องแดนเกิดพระพุทธศาสนา” คนเขียนคือ ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์
บทความที่ว่านี้ ตีพิมพ์ในวารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (13) เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2548
บทความนี้เป็นการบรรยาย คือ ถอดคำบรรยายมาตีพิมพ์ เป็นการบรรยายสัมมนาวิชาการ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา “สุโขทัยเมืองวัฒนธรรมแห่งมรดกโลก” 22 กรกฎาคม 2548 ณ โรงแรมไพลิน จังหวัดสุโขทัย จัดโดย สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ
ผมยังพบว่า ปัจจุบัน ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้มาทำเว็บไซต์ “พระพุทธอุบัติภูมิอยู่ในประเทศไทย ไม่ใช่อินเดียหรือเนปาล” ที่อยู่ของเว็บไซต์ก็ที่นี่
http://www.buddhabirthplace.com/
วัตถุประสงค์ของเว็บดังกล่าว มี ๓ ประการ คือ
(๑) เพื่อเสนอผลการค้นคว้าเกี่ยวกับพระพุทธอุบัติภูมิ หรือแดนเกิดแห่งพระพุทธศาสนาว่า พระพุทธศาสนาเกิดที่ใด อยู่ในอินเดียหรือในดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่ีงเป็นที่ตั้งของ "ชมพูทวีป" ที่แท้จริงซึ่งประกอบด้วยประเทศไทย ลาว (รวมบางส่วนทางใต้ของจีน) เขมร พม่า มอญ
(๒)เพื่อเปิดเผยความจริงที่ว่า มี ชาวอังกฤษ และเยอรมันอย่างน้อย ๖ คน ได้ร่วมกันสร้างหลักฐาน และเขียนประวัติพระพุทธศาสนาใหม่ เผยแพร่ไปทั่วโลก ทำให้พระพุทธศาสนาเกิดในอินเดียมาเมื่อไม่ถึง ๑๓๐ ปีมานี้เอง และ
(๓) เพื่อนำเสนอข้อมูลที่ขัดแย้งกันระหว่างข้อมูลที่ปรากฏ ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก และข้อมูลที่เป็นอยู่จริงในประเทศอินเดียเพื่อสะท้อนให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาไม่ได้เกิดในประเทศอินเดีย จนกระทั่งเกิดนิกายมหายานขึ้นในราว พ.ศ. ๖๐๐
การศึกษาครั้งนี้ ไม่ได้มี ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์แต่เพียงผู้เดียว มีคณะผู้ร่วมหัวจมท้าย ถึง 4 คณะดังนี้
(๑) คณะของศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.นิคมทาแดง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
(๒) คณะของอาจารย์ศุภรัตน์ แสงจันทร์ และอาจารย์โสภณ วงศ์เทวัน นักปฏิบัติธรรมสายหลวงปู่ทวด
(๓) คณะของอาจารย์เอกอิสโร วรุณศรี และคณาจารย์จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง
(๔) คณะของอาจารย์อาตม ศิโรศิริ นักวิชาการอิสระ
ผลสรุปจากการวิจัยเบื้องต้น คณะผู้วิจัยค้นพบประเด็นต่างๆ 7 ประเด็น ดังนี้
1. สภาพภูมิศาสตร์
2. ขนบธรรมเนียมประเพณี
3. วิถีชีวิตในสมัยพระพุทธกาล
4. โบราณสถานและโบราณวัตถุ
5. พุทธสถาปัตยกรรม
6. ภาษามคธ หรือภาษาบาลี
7. หลักฐาน/ตำนานไทย
ยังมีการแถม ข้อสังเกตเพิ่มเติม อีกด้วย
ผมขอแสดงความเคารพนับถือคณะผู้วิจัยคณะนี้อย่างจริงใจ ที่กล้าและแสดงออกอย่างถูกต้อง คือ กล้าคิดกล้าแสดงออก และเสนอหลักฐานที่ค้นคว้าหามาได้อย่างโปร่งใส
การกระทำเช่นนี้ ดีกว่าเป็นพุทธวิชาการอีแอบอีกหลายๆ ท่าน ที่พยายามบิดเบือนคำสอนในพระไตรปิฎกอย่างมีเล่ห์เหลี่ยมอย่างนักการเมือง ทั้งๆ ที่บางรูปเป็นพระภิกษุเสียด้วย
แต่ก็ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งว่า หลักฐานของคณะผู้วิจัยคณะนี้ “ฟังไม่ขึ้น” ด้วยประการทั้งปวง
ผมเองถนัดในทางภาษาศาสตร์มากที่สุด จึงจะอธิบายไปในทางภาษาศาสตร์ก่อน ด้านอื่นๆ ก็จะอธิบายตามมา รวมถึงผลของการปฏิบัติธรรมด้วยวิชาธรรมกายด้วย
โปรดอ่านบทความอื่นๆ ในชุดนี้ที่นี่
ภาษาในสมัยพุทธกาล[01]
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/01.html
ภาษาในสมัยพุทธกาล[02]
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/02.html
ภาษาในสมัยพุทธกาล[03]
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/03.html
วิถีชีวิตในสมัยพุทธกาล
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/blog-post_13.html
ดร. มนัส โกมลฑา (Ph.D. Integrated Sciences)
สาขาวิชามนุษยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
E-mail: komoltha4299@gmail.com;komoltha4299@yahoo.com
Web:
https://sites.google.com/site/manaskomoltha
Blog:
http://manaskomoltha.blogspot.com/
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. มนัส โกมลฑา ใน พระพุทธเจ้าเป็นคนไท
แหล่งข้อมูล
https://www.gotoknow.org/posts/453664
พระพุทธอุบัติภูมิอยู่ในประเทศไทย ไม่ใช่อินเดียหรือเนปาล
จากการค้นหาข้อมูลบางอย่าง ทำให้ผมไปพบบทความเรื่อง “จารึกวัดศรีชุมกับแนวคิดใหม่เรื่องแดนเกิดพระพุทธศาสนา” คนเขียนคือ ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์
บทความที่ว่านี้ ตีพิมพ์ในวารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (13) เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2548
บทความนี้เป็นการบรรยาย คือ ถอดคำบรรยายมาตีพิมพ์ เป็นการบรรยายสัมมนาวิชาการ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา “สุโขทัยเมืองวัฒนธรรมแห่งมรดกโลก” 22 กรกฎาคม 2548 ณ โรงแรมไพลิน จังหวัดสุโขทัย จัดโดย สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ
ผมยังพบว่า ปัจจุบัน ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้มาทำเว็บไซต์ “พระพุทธอุบัติภูมิอยู่ในประเทศไทย ไม่ใช่อินเดียหรือเนปาล” ที่อยู่ของเว็บไซต์ก็ที่นี่
http://www.buddhabirthplace.com/
วัตถุประสงค์ของเว็บดังกล่าว มี ๓ ประการ คือ
(๑) เพื่อเสนอผลการค้นคว้าเกี่ยวกับพระพุทธอุบัติภูมิ หรือแดนเกิดแห่งพระพุทธศาสนาว่า พระพุทธศาสนาเกิดที่ใด อยู่ในอินเดียหรือในดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่ีงเป็นที่ตั้งของ "ชมพูทวีป" ที่แท้จริงซึ่งประกอบด้วยประเทศไทย ลาว (รวมบางส่วนทางใต้ของจีน) เขมร พม่า มอญ
(๒)เพื่อเปิดเผยความจริงที่ว่า มี ชาวอังกฤษ และเยอรมันอย่างน้อย ๖ คน ได้ร่วมกันสร้างหลักฐาน และเขียนประวัติพระพุทธศาสนาใหม่ เผยแพร่ไปทั่วโลก ทำให้พระพุทธศาสนาเกิดในอินเดียมาเมื่อไม่ถึง ๑๓๐ ปีมานี้เอง และ
(๓) เพื่อนำเสนอข้อมูลที่ขัดแย้งกันระหว่างข้อมูลที่ปรากฏ ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก และข้อมูลที่เป็นอยู่จริงในประเทศอินเดียเพื่อสะท้อนให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาไม่ได้เกิดในประเทศอินเดีย จนกระทั่งเกิดนิกายมหายานขึ้นในราว พ.ศ. ๖๐๐
การศึกษาครั้งนี้ ไม่ได้มี ศ.ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์แต่เพียงผู้เดียว มีคณะผู้ร่วมหัวจมท้าย ถึง 4 คณะดังนี้
(๑) คณะของศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.นิคมทาแดง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
(๒) คณะของอาจารย์ศุภรัตน์ แสงจันทร์ และอาจารย์โสภณ วงศ์เทวัน นักปฏิบัติธรรมสายหลวงปู่ทวด
(๓) คณะของอาจารย์เอกอิสโร วรุณศรี และคณาจารย์จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง
(๔) คณะของอาจารย์อาตม ศิโรศิริ นักวิชาการอิสระ
ผลสรุปจากการวิจัยเบื้องต้น คณะผู้วิจัยค้นพบประเด็นต่างๆ 7 ประเด็น ดังนี้
1. สภาพภูมิศาสตร์
2. ขนบธรรมเนียมประเพณี
3. วิถีชีวิตในสมัยพระพุทธกาล
4. โบราณสถานและโบราณวัตถุ
5. พุทธสถาปัตยกรรม
6. ภาษามคธ หรือภาษาบาลี
7. หลักฐาน/ตำนานไทย
ยังมีการแถม ข้อสังเกตเพิ่มเติม อีกด้วย
ผมขอแสดงความเคารพนับถือคณะผู้วิจัยคณะนี้อย่างจริงใจ ที่กล้าและแสดงออกอย่างถูกต้อง คือ กล้าคิดกล้าแสดงออก และเสนอหลักฐานที่ค้นคว้าหามาได้อย่างโปร่งใส
การกระทำเช่นนี้ ดีกว่าเป็นพุทธวิชาการอีแอบอีกหลายๆ ท่าน ที่พยายามบิดเบือนคำสอนในพระไตรปิฎกอย่างมีเล่ห์เหลี่ยมอย่างนักการเมือง ทั้งๆ ที่บางรูปเป็นพระภิกษุเสียด้วย
แต่ก็ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งว่า หลักฐานของคณะผู้วิจัยคณะนี้ “ฟังไม่ขึ้น” ด้วยประการทั้งปวง
ผมเองถนัดในทางภาษาศาสตร์มากที่สุด จึงจะอธิบายไปในทางภาษาศาสตร์ก่อน ด้านอื่นๆ ก็จะอธิบายตามมา รวมถึงผลของการปฏิบัติธรรมด้วยวิชาธรรมกายด้วย
โปรดอ่านบทความอื่นๆ ในชุดนี้ที่นี่
ภาษาในสมัยพุทธกาล[01]
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/01.html
ภาษาในสมัยพุทธกาล[02]
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/02.html
ภาษาในสมัยพุทธกาล[03]
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/03.html
วิถีชีวิตในสมัยพุทธกาล
http://phraphutthajauthai.blogspot.com/2011/08/blog-post_13.html
ดร. มนัส โกมลฑา (Ph.D. Integrated Sciences)
สาขาวิชามนุษยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
E-mail: komoltha4299@gmail.com;komoltha4299@yahoo.com
Web: https://sites.google.com/site/manaskomoltha
Blog: http://manaskomoltha.blogspot.com/
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ดร. มนัส โกมลฑา ใน พระพุทธเจ้าเป็นคนไท
แหล่งข้อมูล https://www.gotoknow.org/posts/453664