ฟุตบอลลีกเยาวชนแห่งชาติ Thailand Youth League ปี 2018-2019 รอบลีกโซน นัดที่ 4

ผลการแข่งขันคู่ที่น่าสนใจ
รุ่นอายุไม่เกิน 13 ปี

✁ คือ คู่ที่ผลการแข่งขันเหนือความคาดหมาย วัดจากระดับลีกที่ทีมชุดใหญ่เล่นอยู่ ชื่อเสียงของทีมเยาวชน หรือจำนวนทรัพยากรคนในจังหวัด

โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
สมาคมกีฬาจังหวัดสุรินทร์ (1,400,000คน) 0 - 6 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (T1)
สมาคมกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ (1,400,000คน) 2 - 0 นครราชสีมา (T1) ✁
ศรีษะเกษ (T2) 1 - 0 ยโสธร (T4)


โซนภาคกลาง
สมาคมกีฬาจังหวัดปทุมธานี (1,100,000คน) 1 - 1 แบงค็อก ยูไนเต็ด (T1) ✁
มหาวิทยาลัยปทุมธานี (T4) 2 - 1 ชัยนาท ฮอร์นบิล (T1) ✁
ปทุม ยูไนเต็ด (T2) 2 - 1 อยุทธยา ยูไนเต็ด (T2)
สมาคมกีฬาจังหวัดสระบุรี (640,000คน) 2 - 1 นครสวรรค์ (T4) ✁


โซนกรุงเทพฯและสมุทรปราการ
ไทยฮอนด้า (T2) 0 - 3 การท่าเรือ (T1)
สมุทรปราการ (T4) 0 - 1 อาร์มี่ ยูไนเต็ด (T2)
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด (High School)+(T4) 6 - 0 เกษตรศาสตร์ (T2)
สมาคมกีฬากรุงเทพมหานคร 11 - 0 ศุลกากร ยูไนเต็ด (T3)

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
วีดีโอไฮไลท์ ไทยฮอนด้า 0-3 กาารท่าเรือ

โซนภาคตะวันตก
ราชบุรี มิตรผล (T1) 0 - 1 เมืองทอง ยูไนเต็ด (T1)
สีหมอก (T3) 3 - 1 พีที ประจวบ (T1) ✁
สมุทรสงคราม (T4) 3 - 1 สุพรรณบุรี (T1) ✁
หัวหิน ซิตี้ (T4) 1 - 0 สมาคมกีฬาจังหวัดเพชรบุรี (480,000คน)


โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
สมาคมกีฬาจังหวัดขอนแก่น (1,700,000คน) 0 - 5 หนองบัว พิชญ (T2)
สมาคมกีฬาจังหวัดเลย (640,000คน) 0 - 2 ขอนแก่น (T2)


โซนภาคเหนือ
เชียงราย ซิตี้ (T3) 0 - 2 เชียงราย ยูไนเต็ด (T1)
สมาคมกีฬาจังหวัดพะเยา (480,000คน) 3 - 1 สมาคมกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ (1,700,000คน) ✁
ลำปาง (T2) 0 - 1 พิษณุโลก (T4) ✁


โซนภาคตะวันออก
พีทีที ระยอง (T1) 1 - 4 พัทยา ยูไนเต็ด
สระแก้ว (T3) 0 - 1 ชลบุรี (T1)


โซนภาคใต้
สุราษฎ์ธานี ซิตี้ (T4) 1 - 1 สมากีฬาจังหวัดภูเก็ต (400,000คน)
ชุมพร (T4) 1 - 1 สุราษฏร์ธานี (T3)


รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี

โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
สุรินทร์ซูก้า โขงชีมูล (T4) 0 - 0 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (T1) ✁
สมาคมกีฬาจังหวัดศรีษะเกษ (1,400,000คน) 1 - 0 นครราชสีมา (T1) ✁
ชัยภูมิ (T4) 0 - 4 สุรินทร์ ซิตี้ (T4) ✁
ศรีสะเกษ (T2) 1 - 2 สมาคมกีฬาจังหวัดนครราชสีมา (2,600,000คน)


โซนภาคกลาง
นครสวรรค์ (T4) 1 - 0 แบงค็อก ยูไนเต็ด (T1) ✁
ปทุม ยูไนเต็ด (T2) 10 - 0 โดม (T4)


โซนภาคใต้
ปัตตานี (T4) 1 - 0 ระนอง ยูไนเต็ด (T3) ✁


โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ขอนแก่น เอฟซี (T2) 2 - 3 หนองบัว พิชญ (T2)


โซนภาคเหนือ
หมูป่า อะคาเดมี่ 0 - 4 เชียงราย ยูไนเต็ด (T1)
เชียงราย ซิตี้ (T3) 1 - 1 สุโขทัย (T1)
พิษณุโลก (T4) 2 - 0 แพร่ ยูไนเต็ด (T3) ✁
สมาคมกีฬาจังหวัดตาก (500,000คน) 1 - 4 เชียงใหม่ (T1)


โซนภาคตะวันออก
พีทีที ระยอง (T1) 1 - 2 พัทยา ยูไนเต็ด
สมาคมกีฬาจังหวัดชลบุรี 3 - 3 ชลบุรี (T1)


โซนกรุงเทพฯและสมุทรปราการ
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด (High School)+(T4) 3 - 1 การท่าเรือ (T1)


โซนภาคตะวันตก
สีหมอก (T3) 1 - 1 เมืองทอง ยูไนเต็ด (T1) ✁
สมาคมกีฬาจังหวัดราชบุรี 2 - 2 สุพรรณบุรี (T1) ✁
สมุทรสาคร (T2) 2 - 0 ราชบุรี มิตรผล (T1) ✁



 โจทย์ของทุกทีมในลีกเยาวชนแห่งชาติ

❤ ❤ ❤
เพี้ยนแข็งแรง
❤ ❤ ❤

เล่นไปในทิศทางเดียวกับ ปรัชญาฟุตบอลประจำชาติ Thailand Structure Model หรือ Thailand's way ตาม แผนพัฒนาฟุตบอลไทย 20 ปี โดย สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2560 - 2579 ที่ใช้เป็นแม่แบบแนวทางการเล่นของฟุตบอลทีมชาติไทยตั้งแต่ชุดรุ่นอายุไม่เกิน 14 ปี ไปจนถึงทีมชาติไทยชุดใหญ่ ดังต่อไปนี้

① การเล่นเกมรุก เน้นการครองบอล สร้างเกมจากแดนตนเองแบบเท้าสู่เท้า มีความรวดเร็วหลากหลายในการเปลี่ยนจังหวะสู่การจู่โจม
② การเล่นเกมรับ ไล่กดดันเพรสซิ่งคู่ต่อสู้อย่างพร้อมเพรียงในแดนหลังและแดนกลาง ช่วยกดดันเพรสซิ่งในเกมรับตั้งแต่แดนหน้า และเปลี่ยนจังหวะในการตั้งรับเมื่อเสียบอล
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

แนวทางการเล่น Thailand's way ศึกษาจากเทปวีดีโอการแข่งขันของ ทีมชาติไทยรุ่นอายุ 14 ปี โดย ทีมงาน Ekkono
                                   ◐ ต่อบอลในแดนหลังดึงดูดผู้เล่นฝั่งตรงข้ามให้มาไล่บอลแล้วเปลี่ยนจังหวะผ่านบอลเข้าทำเร็ว
                                   ◐ สิ่งสำคัญเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่ถูกทีมคู่แข่งใช้ฟุตบอลสไตล์เพรสซิ่งเข้าใส่ คือการสอนให้เด็กแก้การถูกเพรสซิ่งอย่างสร้างสรรค์ จากแดนหลัง ยืนและเคลื่อนที่เป็นกลุ่ม ผ่านบอลหนีการเพรสซิ่ง แนะนำไม่ให้เด็กสาดบอลยาวแบบไร้จุดหมายโดยไม่จำเป็น 
                                   ◐ เพรสซิ่งเร็วในแดนของฝั่งตรงข้าม เมื่อเราเสียบอลให้ฝั่งตรงข้าม ซึ่งเป็นการเสียบอลในขณะที่ทีมเรากำลังทำเกมบุก
                                   ◐ ผ่านบอลเปลี่ยนจังหวะเข้าทำเร็วเมื่อแย่งบอลกลับคืนมาได้จากการเพรสซิ่งเร็วในแดนของฝั่งตรงข้าม

หัวใจที่นำมาใช้ในฟุตบอลเด็กของไทยยุคใหม่คือ การแก้การถูกเพรสซิ่งอย่างสร้างสรรค์ ความเข้าใจในการบีบพื้นที่เพรสซิ่งและการเคลื่อนที่ ในยามที่มีและไม่มีบอลของเด็กทั้งทีม ซึ่งวิธีการนี้เป็นสิ่งที่ทีมเยาวชนญี่ปุ่นใช้มาอย่างยาวนาน จนประสบความสำเร็จ เป็นแถวหน้าในทางฟุตบอลเยาวชนของทวีปเอเชียได้ไปเล่นฟุตเยาวชนโลกมาตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งถ้าเรานำวิธีการเดียวกันนี้มาใช้เล่นกับ ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นก็จะพบกับความยากลำบาก และเราก็สามารถที่จะเอาชนะพวกเขาได้ทุกเมื่อเช่นกัน

ผลงานในทัวร์นาเมนต์เยาวชนที่ประเทศจีน
รอบชิงชนะเลิศ
ชนะ ญี่ปุ่น 3-2
รอบรองชนะเลิศ
ชนะ จีน 1-0
รอบแบ่งกลุ่ม
ชนะ เวียดนาม 1-0
ชนะ ญี่ปุ่น 1-0

★ ข้อมูลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 14 ปี ✎ เกิดปี พ.ศ. 2547 หรือ ค.ศ. 2004
เพี้ยนแคปเจอร์
การเล่นกับทีมที่ศักยภาพเหนือกว่า
เทปวีดีโอ แพ้ ไซปรัส 1-2 ✎ http://mycujoo.tv/video/fa-thailand?id=30365
วีดีโอการเล่นเมื่อถูกเพรสซิ่ง ชนะ ญี่ปุ่น 3-2 ✎ http://www.youtube.com/watch?v=Kor2lPCrKR4
การเล่นกับทีมที่ศักยภาพด้อยกว่า
เทปวีดีโอ ชนะ เมียนมา 2-1 ✎ http://www.youtube.com/watch?v=cmNO5OjQx98

เบื้องหลังการสร้างทีมเยาวชนทีมชาติไทยที่ผู้ฝึกสอนในลีกเยาวชนแห่งชาติควรนำไปปรับใช้

⭐⭐⭐
เพี้ยนชนะเลิศ
⭐⭐⭐
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
วีดีโอ แสดงบางส่วนของการถ่ายทอดแบบฝึกของโค้ชให้เด็กๆในทีม ที่จะทำให้นักฟุตบอลระดับเยาวชนของไทย สามารถเป็นผู้เล่นที่เล่นได้อย่างชาญฉลาด และปัจจัยอะไรที่จะทำให้นักฟุตบอลไปถึงจุดๆนั้นได้ โดย ฆูเลียน มาริน บาซาโล ทีมงาน Ekkono
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
วีดีโอ แสดงคอนเซ็ปท์ในการสร้างนักฟุตบอลยุคใหม่ สื่อและอุปกรณ์การสอน การใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาเด็ก โดยนำวีดีโอย้อนหลังการฝึกซ้อมและการแข่งขันของทีมมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงการเล่นของทีม การนำวีดีโอของนักฟุตบอลอาชีพมาให้เด็กเรียนรู้ในหัวข้อเกี่ยวกับการฝึกซ้อมถัดไป


ทัศนคติที่นักฟุตบอลเยาวชนไทยต้องมี

⭐⭐⭐
เพี้ยนจริงจัง
⭐⭐⭐

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

บทความที่ควรอ่านเกี่ยวกับการพัฒนายกระดับฟุตบอลเยาวชน

⭐⭐⭐
เพี้ยนปักหมุด
⭐⭐⭐
โครงสร้าง

ไทยอยากก้าวข้ามเอเชียเพื่อเป็น1 เริ่มต้นที่คุณภาพของฟุตบอลลีกเยาวชน : เยอรมัน
การพัฒนาคุณภาพผู้เล่นเยาวชน ของฮอลแลนด์ กับปัญหาที่แท้จริงของฟุตบอลไทย
โครงสร้างฟุตบอลเยาวชนญี่ปุ่น ทำไมเราจึงเป็นมหาอำนาจฟุตบอลเอเชีย
เบื้องหลังแผนพัฒนาเยาวชน 20 ปี ค.ศ. 1998-2018 ที่สร้าง Golden Gen. ให้วงการฟุตบอลเบลเยี่ยม
วิสัยทัศน์ของประเทศเบลเยี่ยม บนการพัฒนาฟุตบอลเยาวชน

โครงการ

การสร้างฟุตบอลเยาวชนภายในจังหวัดให้แข็งแกร่งอย่างรวดเร็ว กับทฤษฎี "1 ชุมชน 1 สนามหญ้าเทียม 1 โค้ชซีไลเซ่นส์"

สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย

เส้นทางสู่การเป็นเฮดโค้ช ตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงโปร ไลเซนส์
Ekkono : ผลงานการพัฒนาตลอด 1 ปี 6 เดือนที่ผ่านมา และก้าวต่อไปในอนาคต
FA Thailand Introductory Course จุดเริ่มต้นแห่งการเป็นโค้ชอาชีพ
The big interview : เอริก อับราม ประธานพัฒนาเทคนิคแห่งออสเตรเล
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่