มีหนังสือบางเล่ม พูดถึงเรื่องรูป ที่กระตุ้นให้เกิด กามกำหนัด มองว่าสรีระทางเพศของผู้หญิง เป็นสิ่งเร้าให้เกิดความรัก ความใคร่ ความหลงใหล
จึงควรงดเว้นจากการมอง การเร้าให้เกิดกระตุ้นกามตัณหา ในเบื้องต้นของปุถุชนที่ยังมีรักโลภโกรธหลง ยังไม่ถึงขั้นอริยบุคคลที่จะมองเห็นรูป แล้ววางเฉยได้
ถ้ามองในด้านการเขียน มันก็สะท้อนมุมมองของผัเขียนที่เป็นผู้ชาย หรือผู้เขียนที่เป็นพระ ซึ่งเป็นผู้ชาย สอดแทรกทัศนคติเรื่อง การมองเพศหญิง อย่างเลี่ยงไม่ได้อยู่แล้ว
หากมองว่า เพราะพระพุทธเจ้าเป็นผู้ชาย (ในชาติภพที่เสวยชาติเป็นเจ้าชายสิตธัตถะ) การมองผู้หญิงในลักษณะดังกล่าว เลยสุ่มเสี่ยงต่อการมองว่า เพศหญิงเป็นปฎิปักษ์ต่อการบรรลุธรรม
มันทำให้น่าคิดว่า ถ้าสมมติ สัมมาสัมพุทธเจ้า เสวยชาติเป็นเพศหญิงแทน มุมมองต่อการพิจารณาเรื่องรูปกาย ที่ก่อให้เกิดกำหนัดยินดี จะต่างไปจากนี้หรือเปล่า
เช่น มองว่าซิกซ์แพค เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความกำหนัดยินดี ไม่ควรหลงใหลกับรูปกายเหล่านั้น (อันนี้คิดแบบโม้ๆ)
แน่นอนว่า พระพุทธเจ้าคงมองมนุษย์ทุกเพศอย่างเท่าเทียม เพียงแต่ด้วยความที่ตัวพระพุทธเจ้า พุทธสาวก ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย และสัญชาติญาณเดิมของเพศชายนั้นมักถูกกระตุ้นเร้าได้
ดังนั้น การบัญญัติเรื่องต่างๆ ในพระไตรปิฎกจึงมักมีเรื่องที่ รูปของเพศหญิง เป็นเครื่องสร้างปัญหา เป็นเรื่องกระตุ้นให้เกิดกามรมณ์โดยส่วนมาก
เลยน่าคิดว่า ถ้าหากพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นจากพระพุทธเจ้าที่เป็นเพศหญิง เนื้อหาหรือใจความต่างๆ หรือพุทธสาวก จะเปลี่ยนโฉมไปจากนี้หรือเปล่าครับ
ถ้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้หญิง มุมมองต่อความกำหนัดยินดีในทางพุทธจะเปลี่ยนไปไหมครับ
จึงควรงดเว้นจากการมอง การเร้าให้เกิดกระตุ้นกามตัณหา ในเบื้องต้นของปุถุชนที่ยังมีรักโลภโกรธหลง ยังไม่ถึงขั้นอริยบุคคลที่จะมองเห็นรูป แล้ววางเฉยได้
ถ้ามองในด้านการเขียน มันก็สะท้อนมุมมองของผัเขียนที่เป็นผู้ชาย หรือผู้เขียนที่เป็นพระ ซึ่งเป็นผู้ชาย สอดแทรกทัศนคติเรื่อง การมองเพศหญิง อย่างเลี่ยงไม่ได้อยู่แล้ว
หากมองว่า เพราะพระพุทธเจ้าเป็นผู้ชาย (ในชาติภพที่เสวยชาติเป็นเจ้าชายสิตธัตถะ) การมองผู้หญิงในลักษณะดังกล่าว เลยสุ่มเสี่ยงต่อการมองว่า เพศหญิงเป็นปฎิปักษ์ต่อการบรรลุธรรม
มันทำให้น่าคิดว่า ถ้าสมมติ สัมมาสัมพุทธเจ้า เสวยชาติเป็นเพศหญิงแทน มุมมองต่อการพิจารณาเรื่องรูปกาย ที่ก่อให้เกิดกำหนัดยินดี จะต่างไปจากนี้หรือเปล่า
เช่น มองว่าซิกซ์แพค เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความกำหนัดยินดี ไม่ควรหลงใหลกับรูปกายเหล่านั้น (อันนี้คิดแบบโม้ๆ)
แน่นอนว่า พระพุทธเจ้าคงมองมนุษย์ทุกเพศอย่างเท่าเทียม เพียงแต่ด้วยความที่ตัวพระพุทธเจ้า พุทธสาวก ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย และสัญชาติญาณเดิมของเพศชายนั้นมักถูกกระตุ้นเร้าได้
ดังนั้น การบัญญัติเรื่องต่างๆ ในพระไตรปิฎกจึงมักมีเรื่องที่ รูปของเพศหญิง เป็นเครื่องสร้างปัญหา เป็นเรื่องกระตุ้นให้เกิดกามรมณ์โดยส่วนมาก
เลยน่าคิดว่า ถ้าหากพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นจากพระพุทธเจ้าที่เป็นเพศหญิง เนื้อหาหรือใจความต่างๆ หรือพุทธสาวก จะเปลี่ยนโฉมไปจากนี้หรือเปล่าครับ