คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 9
เท่าที่ทราบนะครับ...แต่โบราณของภูมิภาคนี้...จะมีความนิยม เมื่อมีการขึ้นสู่อำนาจของกษัตริย์แห่งเมืองนั้นๆ(ก่อน ร.5 แถบนี้ไม่มีรัฐชาติแบบปัจจุบัน มีแต่เมืองเอกราชและบริวาร กับเมืองประเทศราชและบริวาร)...จะมีการผูกเครื่องสูง จะเป็นยันต์บ้าง มนตราอาคมบ้าง...โดยจะรวบรวมผู้มีความรู้ความสามารถและเป็นที่นับถือ มาร่วมกันผูกเครื่องสูง ในการกระทำพิธีให้เครื่องสูงนั้นมีผู้ประสิทธิ์ให้มีพลานุภาพจริง...เรียกว่าแรงครู...อาจเป็นเทวดา ยักษ์ ฯลฯ...ตามภูมิความรู้ความสามารถที่เมืองนั้นๆพอจะมีในขณะนั้น...
ยันต์ไหน จะมีความศักดิ์สิทธิ์หรือไม่แค่ไหนเพียงใด...ไม่ทราบแน่...แต่คงไม่ใช่ชุ่ยๆนึกจะเอาของครูแต่เก่าก่อนมาผสม มาจัดเรียง ตามใจชอบ แล้วตั้งชื่อเอาตามใจเหมือนสมัยนี้...ตั้งตัวเป็นบูรพาจารย์ต้นกำเนิด ยันต์หรือคาถานั้นๆกันหน้าตาเฉย...
ยันต์ไหน จะมีความศักดิ์สิทธิ์หรือไม่แค่ไหนเพียงใด...ไม่ทราบแน่...แต่คงไม่ใช่ชุ่ยๆนึกจะเอาของครูแต่เก่าก่อนมาผสม มาจัดเรียง ตามใจชอบ แล้วตั้งชื่อเอาตามใจเหมือนสมัยนี้...ตั้งตัวเป็นบูรพาจารย์ต้นกำเนิด ยันต์หรือคาถานั้นๆกันหน้าตาเฉย...
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 5
...... มนต์ตรา .......
.......... หนังสือสวดมนต์ ท่านใช้เล่มเดิม ซ้ำๆ เป็นเวลานาน หนังสือสวดมนต์เล่มนี้จะมี มนต์ตรา
คาถาหรือสิ่งต่างๆ ใช้ซ้ำๆ จะมี มนต์ตรา .....
มีทั้งส่วน กุศล และ อกุศล ....... คือใช้จิตที่เป็นกุศล ก็เป็นของขาว ใช้จิตที่เป็นอกุศล ก็เป็นของดำ
เราเข้าใจสิ่งเหล่านี้ เราจะสลัดเรื่องพวกนี้ทิ้งเลยครับ เพราะรู้และเข้าใจ ( เริ่มละสังโยชน์บางตัวได้ )
ปลุกเสกตัวท่านเอง ด้วย ทาน ศีล ภาวนา ด้วยจิตที่เป็นกุศล ขลังที่สุดแล้วครับ
.......... หนังสือสวดมนต์ ท่านใช้เล่มเดิม ซ้ำๆ เป็นเวลานาน หนังสือสวดมนต์เล่มนี้จะมี มนต์ตรา
คาถาหรือสิ่งต่างๆ ใช้ซ้ำๆ จะมี มนต์ตรา .....
มีทั้งส่วน กุศล และ อกุศล ....... คือใช้จิตที่เป็นกุศล ก็เป็นของขาว ใช้จิตที่เป็นอกุศล ก็เป็นของดำ
เราเข้าใจสิ่งเหล่านี้ เราจะสลัดเรื่องพวกนี้ทิ้งเลยครับ เพราะรู้และเข้าใจ ( เริ่มละสังโยชน์บางตัวได้ )
ปลุกเสกตัวท่านเอง ด้วย ทาน ศีล ภาวนา ด้วยจิตที่เป็นกุศล ขลังที่สุดแล้วครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ลักษณะของบุญ
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=10815
บุญ คือ อะไร? บุญคือสภาพที่ทำจิตใจให้สะอาดให้ผ่องใส ฉะนั้น ลักษณะของบุญในความหมายแรกนี้ จึงหมายถึงสภาพของจิตหรือคุณภาพของจิตที่ผ่องใส
อีกอย่างหนึ่ง บุญ หมายถึง ความสุข ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายอย่ากลัวต่อบุญเลย คำว่า บุญนี้ เป็นชื่อของความสุข" ฉะนั้น ลักษณะของบุญในความหมายที่สองนี้ จึงหมายถึงความสุขความเจริญ
อีกอย่างหนึ่ง บุญ หมายถึง การทำความดี ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า "พึงสั่งสมบุญ ทั้งหลาย อันจะนำความสุขมาให้" ฉะนั้น ลักษณะของบุญในความหมายที่ ๓ นี้ หมายถึงการทำดี เช่น การให้ทาน การรักษาศีล เป็นต้น
***************************************
บาปและบุญ..เรื่องเก่าแต่ต้องการสอน โดย หลวงพ่อเสือ
http://www.abhidhamonline.org/Ajan/Sua/pape.doc
บาปคือสภาพธรรมะที่ไม่ดีงาม
บุญคือสภาพธรรมะที่ดีงาม
ธรรมะเป็นสิ่งที่ละเอียดมาก เพราะเกิด ดับเร็ว อย่างจิตเจตสิกเกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน บางครั้งเป็นกุศล บางครั้งเป็นอกุศลแล้วก็สลับกัน บางครั้งบอกไม่ถูกว่า ขณะนั้นเป็นกุศลหรือ อกุศล จีงต้องอาศัยการศึกษาให้ละเอียดพอสมควร ถึงจะรู้ว่า ขณะใดที่เป็นบาป หรืออกุศล คือขณะนั้นเป็น โลภะ โทสะ โมหะ และอกุศลจิตอื่น ๆ ที่เราเคยได้ฟัง เช่น อิสสา มัจฉริยะ เป็นลักษณะของธรรมะที่เป็นอกุศลทั้งนั้น
ถ้าเป็นกุศลหรือเป็นบุญ ก็ตรงกันข้าม คือเป็นธรรมะที่ดีงาม คือขณะที่จิตเจตสิกที่ดีงามเกิดร่วมกัน และมีทาง ของจิตคือ กาย วาจา เป็นทางของกุศลและอกุศล เพราะเหตุว่าไม่มีแต่จิต เรามีรูปด้วย ถ้ามีแต่จิตที่ เป็นกุศลหรืออกุศลคนอื่นจะเดือดร้อนไหม? (ไม่เดือดร้อน) แต่เพราะว่าเรามีรูปด้วย เวลาที่ อกุศลจิตเกิดก็มีทางคือ กาย วาจา ที่ไม่ดี ซึ่งเกิด จากอกุศลนั้น เบียดเบียนบุคคลอื่นให้เดือดร้อน
ความจริง เวลาที่อกุศลจิตเกิดขึ้นนั้น เบียดเบียนเราก่อน ดังนั้น คนมีอกุศล ไม่สบายเลย
แต่ว่าขณะที่เป็นโลภะ เราคิดว่า ดี เป็นความติดข้องต้องการสิ่งหนี่งสิ่งใด เวลาที่ได้มาแล้วดีใจมาก เพลิดเพลินเป็นสุข สนุกสนาน คิดว่าขณะนั้นก็ดี
เพราะฉะนั้นดีของเรา กับ ดีของธรรมะ เป็นคนละอย่าง ดีของเราคือความรู้สีกเป็นสุข แต่จริงๆ แล้วคือ อกุศล เพราะว่าขณะนั้นเป็นสภาพที่ติดข้อง ติดข้องนิดหน่อยๆก็ไม่พอใจ ไม่สมใจ ต้องมากกว่านั้นให้โสมนัสเลย ไม่ว่าจะทำอะไร ก็ต้องการโสมนัสเวทนา ไม่ใช่เพียงอุเบกขาเวทนา เพราะฉะนั้นจะเห็นได้จริงๆว่า ถ้าไม่ศึกษาธรรมะ จะเข้าใจธรรมะผิดๆ อย่างเวลาที่เราสบายใจ ไปนั่งสมาธิ เราก็คิดว่า ขณะนั้นเป็นกุศลแล้ว โดยที่ไม่รู้ว่าขณะนั้นมีโลภะ แล้วก็มีโมหะ มีความไม่รู้และมีความติดข้อง
ถ้าศึกษาธรรมะแล้ว จะทำให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า.... ขณะที่เป็นกุศล ต้องไม่มีโลภะ โทสะ โมหะ
แล้วเป็นไปในขณะไหนบ้าง เพราะจิตใจเรารู้ยาก แต่ถ้ามีการแสดงออกทาง กาย ทางวาจา พอจะรู้ แต่จะต้องตรง มิฉะนั้น ก็จะถูกลวง หรือเข้าใจผิด การที่เราเห็นคนที่ ยากไร้ และเราคิดที่จะช่วย ขณะคิดเป็นกุศลหรือ อกุศลที่จะช่วย? เพียงคิดก็เป็นกุศล แต่ยังไม่สำเร็จ เพราะยังไม่มีการกระทำ ถ้าอย่างนั้น ทุกคนต้อง รวยกุศล เป็นบุพเจตนา เป็นความคิดก่อน การกระทำ ...ซึ่งไม่แน่ว่า การกระทำนั้นจะเกิด หรือไม่เกิด เพราะฉะนั้นกุศล ก็มีประกอบมีทั้ง กาลก่อนที่จะทำ เรียกว่า บุพเจตนา
ขณะที่กำลังทำ จิตเป็นกุศล และหลังจากทำแล้ว จิตของเราผ่องใสที่ได้ช่วยคนอื่น ให้สะดวกสบายขี้น มีความสบายใจกับเขาที่พ้นทุกข์ เพราะฉะนั้นกุสลมี ๓ กาละ คือ ก่อนทำกุศล กำลังทำ และหลังทำ
พุทธวิธีหนีภัยใกล้ตัว
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=10701
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมา ทัฏฐานา เวรมณี สิกขา ปะทัง สมาทิยามิ – ข้าพเจ้าของดเว้นจากการดื่มสุรายาเมา และสิ่งเสพติดต่างๆ ด้วยรู้ว่าผลของการกระทำในข้อนี้ทำให้ขาดสติกระทำผิดศีลในข้อต้นๆได้ง่าย ทำให้มีที่ไปคือ อบายภูมิ ๔ ซึ่งมืดบอดต่อรัศมีพระธรรม และแม้จะได้เกิดในสุคติภูมิเป็นมนุษย์ก็ยังต้องเกิดเป็นคนบ้าไบ้ ปัญญาอ่อน เป็นอาภัพบุคคลไม่สามารถปฏิบัติสู่ความพ้นทุกข์ได้ และยังต้องรับผลของการกระทำบาปในข้อต่างๆด้วย ขอหิริ-โอตตัปปะจงบังเกิดขึ้นในจิตใจทำให้ข้าพเจ้าเกรงความชั่วและกลัวผลของบาปที่จะต้องขึ้นกับชีวิต พร้อมมีชีวิตที่ประกอบด้วยสติเพื่อป้องกันความประมาทที่จะเกิดขึ้น
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=11188
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=11191
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ทุกวันนี้เราทุกคนหนีไม่พ้นไปจากผลของกรรมที่เราได้กระทำมา ไม่ว่ากรรมนั้นจะเป็นบุญหรือบาป เมื่อได้กระทำเราต้องได้รับผลทั้งสิ้น บางครั้งเราอาจจะพบว่า มีเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงหลาย ๆ ท่าน เมื่อชราภาพมากต้องได้รับวิบากไม่ดี ต้องทนทุกข์ทรมานอยู่กับโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้น ทั้ง ๆ ที่ประวัติของท่านนั้นทำกรรมดีมาตลอด เราไม่อาจทราบได้เลยว่าอดีตชาตินั้นท่านได้ทำกรรมอะไรบ้าง ฉะนั้นสิ่งที่เราได้ประสบพบเห็นชีวิตมาทั้งชีวิตของเราเองและของบุคคลอื่น ๆ ย่อมเป็นที่ประจักษ์ว่า บาปและบุญลบล้างกันไม่ได้
ถ้าเปรียบเกลือเป็นบาปและน้ำเป็นบุญ ชีวิตของเราก็เปรียบเสมือนภาชนะที่บรรจุน้ำเกลือคือมีทั้งบุญและบาป เมื่อใดที่เราเติมเกลือเข้าไปมาก ความเค็มย่อมมีอำนาจมาก แต่ถ้าเมื่อใดเราไม่ต้องการเค็ม เราก็ใส่น้ำลงไปให้มาก น้ำยิ่งมากเท่าไร ความเค็มก็จะยิ่งน้อยลงจนในที่สุดจะไม่รู้สึกเค็มเลย แต่ปริมาณของเกลือที่มีอยู่ก่อนนั้นไม่ได้หายไปไหน ยังคงมีปริมาณเท่าเดิมแต่ไม่สามารถแสดงออกได้ เพราะปริมาณของน้ำที่มีมากกว่า ฉันใดฉันนั้น ถ้าเราไม่ต้องการให้ผลของบาปทั้งหลายที่ได้กล่าวมาแล้วแสดงผลออกมาในชีวิตของเรา เราก็ต้องเติมบุญเข้าไปให้มาก ๆ ดังโอวาทธรรม ๓ ที่พระพุทธองค์ท่านทรงสั่งสอนคือ
๑. จงละจากความชั่ว (บาป) ทั้งปวง
๒. จงทำความดี (บุญ) ให้ถึงพร้อม
๓. จงทำจิตให้บริสุทธิ์
เมื่อนั้น....เราจะได้ไม่ต้องรับผลของกรรมที่เราได้กระทำมาเลย
ความอุ่นใจ ๔ ประการ ท้ายกาลามสูตร
http://ppantip.com/topic/33262752/comment22
ลัทธิหรือความเห็นผิด ที่ต้องแยกจากหลักกรรมในพระพุทธศาสนา
http://ppantip.com/topic/30496477/comment3
ยันต์ ศักดิ์สิทธิ์ได้อย่างไร
ด้วยบุญ คือ ความดี การให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ครับ
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=10815
บุญ คือ อะไร? บุญคือสภาพที่ทำจิตใจให้สะอาดให้ผ่องใส ฉะนั้น ลักษณะของบุญในความหมายแรกนี้ จึงหมายถึงสภาพของจิตหรือคุณภาพของจิตที่ผ่องใส
อีกอย่างหนึ่ง บุญ หมายถึง ความสุข ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายอย่ากลัวต่อบุญเลย คำว่า บุญนี้ เป็นชื่อของความสุข" ฉะนั้น ลักษณะของบุญในความหมายที่สองนี้ จึงหมายถึงความสุขความเจริญ
อีกอย่างหนึ่ง บุญ หมายถึง การทำความดี ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า "พึงสั่งสมบุญ ทั้งหลาย อันจะนำความสุขมาให้" ฉะนั้น ลักษณะของบุญในความหมายที่ ๓ นี้ หมายถึงการทำดี เช่น การให้ทาน การรักษาศีล เป็นต้น
***************************************
บาปและบุญ..เรื่องเก่าแต่ต้องการสอน โดย หลวงพ่อเสือ
http://www.abhidhamonline.org/Ajan/Sua/pape.doc
บาปคือสภาพธรรมะที่ไม่ดีงาม
บุญคือสภาพธรรมะที่ดีงาม
ธรรมะเป็นสิ่งที่ละเอียดมาก เพราะเกิด ดับเร็ว อย่างจิตเจตสิกเกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน บางครั้งเป็นกุศล บางครั้งเป็นอกุศลแล้วก็สลับกัน บางครั้งบอกไม่ถูกว่า ขณะนั้นเป็นกุศลหรือ อกุศล จีงต้องอาศัยการศึกษาให้ละเอียดพอสมควร ถึงจะรู้ว่า ขณะใดที่เป็นบาป หรืออกุศล คือขณะนั้นเป็น โลภะ โทสะ โมหะ และอกุศลจิตอื่น ๆ ที่เราเคยได้ฟัง เช่น อิสสา มัจฉริยะ เป็นลักษณะของธรรมะที่เป็นอกุศลทั้งนั้น
ถ้าเป็นกุศลหรือเป็นบุญ ก็ตรงกันข้าม คือเป็นธรรมะที่ดีงาม คือขณะที่จิตเจตสิกที่ดีงามเกิดร่วมกัน และมีทาง ของจิตคือ กาย วาจา เป็นทางของกุศลและอกุศล เพราะเหตุว่าไม่มีแต่จิต เรามีรูปด้วย ถ้ามีแต่จิตที่ เป็นกุศลหรืออกุศลคนอื่นจะเดือดร้อนไหม? (ไม่เดือดร้อน) แต่เพราะว่าเรามีรูปด้วย เวลาที่ อกุศลจิตเกิดก็มีทางคือ กาย วาจา ที่ไม่ดี ซึ่งเกิด จากอกุศลนั้น เบียดเบียนบุคคลอื่นให้เดือดร้อน
ความจริง เวลาที่อกุศลจิตเกิดขึ้นนั้น เบียดเบียนเราก่อน ดังนั้น คนมีอกุศล ไม่สบายเลย
แต่ว่าขณะที่เป็นโลภะ เราคิดว่า ดี เป็นความติดข้องต้องการสิ่งหนี่งสิ่งใด เวลาที่ได้มาแล้วดีใจมาก เพลิดเพลินเป็นสุข สนุกสนาน คิดว่าขณะนั้นก็ดี
เพราะฉะนั้นดีของเรา กับ ดีของธรรมะ เป็นคนละอย่าง ดีของเราคือความรู้สีกเป็นสุข แต่จริงๆ แล้วคือ อกุศล เพราะว่าขณะนั้นเป็นสภาพที่ติดข้อง ติดข้องนิดหน่อยๆก็ไม่พอใจ ไม่สมใจ ต้องมากกว่านั้นให้โสมนัสเลย ไม่ว่าจะทำอะไร ก็ต้องการโสมนัสเวทนา ไม่ใช่เพียงอุเบกขาเวทนา เพราะฉะนั้นจะเห็นได้จริงๆว่า ถ้าไม่ศึกษาธรรมะ จะเข้าใจธรรมะผิดๆ อย่างเวลาที่เราสบายใจ ไปนั่งสมาธิ เราก็คิดว่า ขณะนั้นเป็นกุศลแล้ว โดยที่ไม่รู้ว่าขณะนั้นมีโลภะ แล้วก็มีโมหะ มีความไม่รู้และมีความติดข้อง
ถ้าศึกษาธรรมะแล้ว จะทำให้เข้าใจชัดเจนขึ้นว่า.... ขณะที่เป็นกุศล ต้องไม่มีโลภะ โทสะ โมหะ
แล้วเป็นไปในขณะไหนบ้าง เพราะจิตใจเรารู้ยาก แต่ถ้ามีการแสดงออกทาง กาย ทางวาจา พอจะรู้ แต่จะต้องตรง มิฉะนั้น ก็จะถูกลวง หรือเข้าใจผิด การที่เราเห็นคนที่ ยากไร้ และเราคิดที่จะช่วย ขณะคิดเป็นกุศลหรือ อกุศลที่จะช่วย? เพียงคิดก็เป็นกุศล แต่ยังไม่สำเร็จ เพราะยังไม่มีการกระทำ ถ้าอย่างนั้น ทุกคนต้อง รวยกุศล เป็นบุพเจตนา เป็นความคิดก่อน การกระทำ ...ซึ่งไม่แน่ว่า การกระทำนั้นจะเกิด หรือไม่เกิด เพราะฉะนั้นกุศล ก็มีประกอบมีทั้ง กาลก่อนที่จะทำ เรียกว่า บุพเจตนา
ขณะที่กำลังทำ จิตเป็นกุศล และหลังจากทำแล้ว จิตของเราผ่องใสที่ได้ช่วยคนอื่น ให้สะดวกสบายขี้น มีความสบายใจกับเขาที่พ้นทุกข์ เพราะฉะนั้นกุสลมี ๓ กาละ คือ ก่อนทำกุศล กำลังทำ และหลังทำ
พุทธวิธีหนีภัยใกล้ตัว
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=10701
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมา ทัฏฐานา เวรมณี สิกขา ปะทัง สมาทิยามิ – ข้าพเจ้าของดเว้นจากการดื่มสุรายาเมา และสิ่งเสพติดต่างๆ ด้วยรู้ว่าผลของการกระทำในข้อนี้ทำให้ขาดสติกระทำผิดศีลในข้อต้นๆได้ง่าย ทำให้มีที่ไปคือ อบายภูมิ ๔ ซึ่งมืดบอดต่อรัศมีพระธรรม และแม้จะได้เกิดในสุคติภูมิเป็นมนุษย์ก็ยังต้องเกิดเป็นคนบ้าไบ้ ปัญญาอ่อน เป็นอาภัพบุคคลไม่สามารถปฏิบัติสู่ความพ้นทุกข์ได้ และยังต้องรับผลของการกระทำบาปในข้อต่างๆด้วย ขอหิริ-โอตตัปปะจงบังเกิดขึ้นในจิตใจทำให้ข้าพเจ้าเกรงความชั่วและกลัวผลของบาปที่จะต้องขึ้นกับชีวิต พร้อมมีชีวิตที่ประกอบด้วยสติเพื่อป้องกันความประมาทที่จะเกิดขึ้น
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=11188
http://webboard.abhidhammaonline.org/old/thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php@user=dokgaew&topic=11191
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ทุกวันนี้เราทุกคนหนีไม่พ้นไปจากผลของกรรมที่เราได้กระทำมา ไม่ว่ากรรมนั้นจะเป็นบุญหรือบาป เมื่อได้กระทำเราต้องได้รับผลทั้งสิ้น บางครั้งเราอาจจะพบว่า มีเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงหลาย ๆ ท่าน เมื่อชราภาพมากต้องได้รับวิบากไม่ดี ต้องทนทุกข์ทรมานอยู่กับโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้น ทั้ง ๆ ที่ประวัติของท่านนั้นทำกรรมดีมาตลอด เราไม่อาจทราบได้เลยว่าอดีตชาตินั้นท่านได้ทำกรรมอะไรบ้าง ฉะนั้นสิ่งที่เราได้ประสบพบเห็นชีวิตมาทั้งชีวิตของเราเองและของบุคคลอื่น ๆ ย่อมเป็นที่ประจักษ์ว่า บาปและบุญลบล้างกันไม่ได้
ถ้าเปรียบเกลือเป็นบาปและน้ำเป็นบุญ ชีวิตของเราก็เปรียบเสมือนภาชนะที่บรรจุน้ำเกลือคือมีทั้งบุญและบาป เมื่อใดที่เราเติมเกลือเข้าไปมาก ความเค็มย่อมมีอำนาจมาก แต่ถ้าเมื่อใดเราไม่ต้องการเค็ม เราก็ใส่น้ำลงไปให้มาก น้ำยิ่งมากเท่าไร ความเค็มก็จะยิ่งน้อยลงจนในที่สุดจะไม่รู้สึกเค็มเลย แต่ปริมาณของเกลือที่มีอยู่ก่อนนั้นไม่ได้หายไปไหน ยังคงมีปริมาณเท่าเดิมแต่ไม่สามารถแสดงออกได้ เพราะปริมาณของน้ำที่มีมากกว่า ฉันใดฉันนั้น ถ้าเราไม่ต้องการให้ผลของบาปทั้งหลายที่ได้กล่าวมาแล้วแสดงผลออกมาในชีวิตของเรา เราก็ต้องเติมบุญเข้าไปให้มาก ๆ ดังโอวาทธรรม ๓ ที่พระพุทธองค์ท่านทรงสั่งสอนคือ
๑. จงละจากความชั่ว (บาป) ทั้งปวง
๒. จงทำความดี (บุญ) ให้ถึงพร้อม
๓. จงทำจิตให้บริสุทธิ์
เมื่อนั้น....เราจะได้ไม่ต้องรับผลของกรรมที่เราได้กระทำมาเลย
ความอุ่นใจ ๔ ประการ ท้ายกาลามสูตร
http://ppantip.com/topic/33262752/comment22
ลัทธิหรือความเห็นผิด ที่ต้องแยกจากหลักกรรมในพระพุทธศาสนา
http://ppantip.com/topic/30496477/comment3
ยันต์ ศักดิ์สิทธิ์ได้อย่างไร
ด้วยบุญ คือ ความดี การให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ครับ
แสดงความคิดเห็น
ยันต์ ศักดิ์สิทธิ์ได้อย่างไร
https://www.xn--l3c2b6a.news/145920/