คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
เข้าใจว่านี่ไม่ใช่เอกสารต้นฉบับที่พิมพ์จากเครื่องพิมพ์ดีดแล้วเอาไปถ่ายเอกสาร แต่เป็นเอกสารที่นำมาจัดเรียงพิมพ์สำหรับพิมพ์เป็นเล่ม
สมัยก่อนเขาจะทำตัวอักษรเป็นบล็อก ๆ จะใช้ตัวไหนก็หยิบตัวนั้นมาเรียงไว้บนแถวใส่ตัวอักษรอีกที พอเต็มแล้วก็ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อความสวยงามก็จะจัดขอบขวาให้ตรงกัน จะเห็นว่าบางบรรทัดเว้นวรรคกว้างมาก อย่างบรรทัดที่สองของย่อหน้าสอง
สมัยก่อนเขาจะทำตัวอักษรเป็นบล็อก ๆ จะใช้ตัวไหนก็หยิบตัวนั้นมาเรียงไว้บนแถวใส่ตัวอักษรอีกที พอเต็มแล้วก็ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อความสวยงามก็จะจัดขอบขวาให้ตรงกัน จะเห็นว่าบางบรรทัดเว้นวรรคกว้างมาก อย่างบรรทัดที่สองของย่อหน้าสอง
สมาชิกหมายเลข 1144227 ถูกใจ, NekoPonyo ถูกใจ, เราชาวปูอยู่ในรูกระดึ๊บ ๆ ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3662908 ถูกใจ, PE 26 ถูกใจ, เจ็ดวันอาบน้ำหนเดียว ถูกใจ, แมวน้อยสีส้มคาบปลาซาดีน ถูกใจ, ป้าทุยบ้านทุ่ง ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 4982592 ทึ่ง, สมาชิกหมายเลข 970223 หลงรักรวมถึงอีก 31 คน ร่วมแสดงความรู้สึก
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ไทย
Font
หนังสือ
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติศาสตร์ศิลป์
เอกสารราชการสมัย ร.5-ร.6 ใช้อะไรพิมพ์ครับ มี font Angsana และจัดระยะขอบหน้าหลังเท่ากันได้ด้วย
แค่ font ยังไม่พอ นี่ยังจัดระยะขอบหน้าหลังให้เท่ากันทุกบรรทัดได้ด้วย เขาใช้อะไรพิมพ์กันครับ
ไปอ่านประวัติเครื่องพิมพ์ดีด รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาใช้ในราชการสยามเป็นครั้งแรกจำนวน 17 เครื่อง ราวปี 2435 (ที่มาประวัติเครื่องพิมพ์ดีด)
ที่มาภาพจากกระทู้นี้ครับ