ที่โรงเรียนผมได้ทำการทดลองนำโลหะอลูมิเนียม ทำปฏิกิริยากับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ผลปรากฏว่าเกิดฟองแก๊สขึ้น
สมการแบบใดถูกต้องครับ รบกวนท่านผู้รู้ช่วยไขข้อข้องใจพร้อมเหตุผลให้กระจ่างทีครับ
1. 2Al + 6NaOH -> 2Na3AlO3 + 3H2
2. 2Al + 2NaOH + 2H2O -> 2NaAlO2 + 3H2
3. Al + NaOH + H2O -> Na[Al(OH)n] + H2
เมื่อ n = 4 หรือ 6
หมายเหตุ : ปฏิกิริยาใช้น้ำกลั่นในการเตรียมโซเดียมไฮดรอกไซด์และ ไม่มีการควบคุมpH ใด ๆ ด้วยสารละลายบัพเฟอร์
โดยส่วนตัวแล้วคิดว่าสมการที่ 2 น่าจะถูกต้องที่สุดครับ เพราะแมกนีเซียมไม่น่าจะเกิดปฏิกิริยากับเบสอย่างเดียว อ้างอิง จากการทดลองเรื่องสมบัติของธาตุตามตารางธาตุเมื่อนำโลหะอลูมิเนียมผสมกับน้ำอุ่น หยดฟีนอฟทาลีนลงไปแล้วตั้งทิ้งไว้ พบว่าสารละลายมีการเปลี่ยนสีเล็กน้อยแสดงว่าโลหะอลูมิเนียม (แก้ไขตอนแรกพิมพ์ผิดเป็น Mg) เกิดปฏิกิริยากับน้ำ
ส่วนสมการที่ 3 นี่ไม่ทราบว่าต้องคุม pH ด้วยหรือเปล่า ซึ่งน่าจะเกี่ยวข้องกับความสเถียรของสารประกอบเชิงซ้อน
ส่วนสมการแรกนี่ไม่แน่ใจครับหาเหตุอธิบายไม่ได้
รบกวนท่านผู้รู้ด้วยนะครับ มึนงง สับสน งง งวยในการเลือกตอบมาก
โลหะอลูมิเนียมเจ้าปัญหา Al + NaOH
สมการแบบใดถูกต้องครับ รบกวนท่านผู้รู้ช่วยไขข้อข้องใจพร้อมเหตุผลให้กระจ่างทีครับ
1. 2Al + 6NaOH -> 2Na3AlO3 + 3H2
2. 2Al + 2NaOH + 2H2O -> 2NaAlO2 + 3H2
3. Al + NaOH + H2O -> Na[Al(OH)n] + H2
เมื่อ n = 4 หรือ 6
หมายเหตุ : ปฏิกิริยาใช้น้ำกลั่นในการเตรียมโซเดียมไฮดรอกไซด์และ ไม่มีการควบคุมpH ใด ๆ ด้วยสารละลายบัพเฟอร์
โดยส่วนตัวแล้วคิดว่าสมการที่ 2 น่าจะถูกต้องที่สุดครับ เพราะแมกนีเซียมไม่น่าจะเกิดปฏิกิริยากับเบสอย่างเดียว อ้างอิง จากการทดลองเรื่องสมบัติของธาตุตามตารางธาตุเมื่อนำโลหะอลูมิเนียมผสมกับน้ำอุ่น หยดฟีนอฟทาลีนลงไปแล้วตั้งทิ้งไว้ พบว่าสารละลายมีการเปลี่ยนสีเล็กน้อยแสดงว่าโลหะอลูมิเนียม (แก้ไขตอนแรกพิมพ์ผิดเป็น Mg) เกิดปฏิกิริยากับน้ำ
ส่วนสมการที่ 3 นี่ไม่ทราบว่าต้องคุม pH ด้วยหรือเปล่า ซึ่งน่าจะเกี่ยวข้องกับความสเถียรของสารประกอบเชิงซ้อน
ส่วนสมการแรกนี่ไม่แน่ใจครับหาเหตุอธิบายไม่ได้
รบกวนท่านผู้รู้ด้วยนะครับ มึนงง สับสน งง งวยในการเลือกตอบมาก