สวัสดีครับพี่ๆลุงป้าน้าอาทุกๆท่าน...หายไปหลายอาทิตย์ เนื่องจากงานเยอะ วันนี้เลยแอบมาลง สักหน่อยครับ
สถานที่ยังคงเป็น เมืองไถจง(Taichung,Taiwan) เช่นเคยครับ...
เข้าสู่ฤดูหนาวแล้ว ที่ไต้หวันเจอนก อพยพบ่อยเหมือนกันครับ แต่ไม่มีเวลาไปถ่ายเลยครับ วันนี้เอา "นกอีเสือสีน้ำตาล" Brown Shrike. มาฝากครับ
Thai Name : นกอีเสือสีน้ำตาล
Common Name : Brown Shrike
Scientific Name : Lanius cristatus (Linnaeus, 1758)
Status : Very Common Winter Visitor
Location : Taichung City,Taiwan
Photographer : Sitthisak Thepnathim
อุปกรณ์ : Nikon D500,Nikon AF-S 200-500mm.f/5.6E ED VR
ตัวผู้ : หัวและลำตัวบนสีน้ำตาล แถบตาดำมีขอบขาวด้านบน ข้างคอ คอ และลำตัวด้านล่างขาว ข้างลำตัวยน้ำตาลอ่อน ตัวเมีย : สีซีดกว่าตัวผู้ มีลายเกล็ดจางๆที่อกและสีข้าง นกวัยอ่อน : สีคล้ำกว่า มีลายเกล็ดที่หัว หลัง และลำตัวด้านล่าง ชนิดย่อย lucionensis กระหม่อมสีเทาตลอดไปถึงหลัง ชนิดย่อย superciliosus (พบไม่บ่อย) กระหม่อมสีน้ำตาลแดงสดใส หน้าผากและลำตัวด้านล่างขาวมาก
ถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง : พื้นที่เกษตรกรรมและที่โล่งต่างๆ ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร
หล่งอ้างอิง : คู่มือดูนกหมอบุญส่ง เลขะกุล นกเมืองไทย และหนังสือนกในเมืองไทย เล่ม 4 รศ.โอภาส ขอบเขตต์ ครับผม
มือใหม่หัดถ่ายภาพนกด้วยตัวเองที่ ไต้หวัน(อีกแล้วครับ)
สถานที่ยังคงเป็น เมืองไถจง(Taichung,Taiwan) เช่นเคยครับ...
เข้าสู่ฤดูหนาวแล้ว ที่ไต้หวันเจอนก อพยพบ่อยเหมือนกันครับ แต่ไม่มีเวลาไปถ่ายเลยครับ วันนี้เอา "นกอีเสือสีน้ำตาล" Brown Shrike. มาฝากครับ
Thai Name : นกอีเสือสีน้ำตาล
Common Name : Brown Shrike
Scientific Name : Lanius cristatus (Linnaeus, 1758)
Status : Very Common Winter Visitor
Location : Taichung City,Taiwan
Photographer : Sitthisak Thepnathim
อุปกรณ์ : Nikon D500,Nikon AF-S 200-500mm.f/5.6E ED VR
ตัวผู้ : หัวและลำตัวบนสีน้ำตาล แถบตาดำมีขอบขาวด้านบน ข้างคอ คอ และลำตัวด้านล่างขาว ข้างลำตัวยน้ำตาลอ่อน ตัวเมีย : สีซีดกว่าตัวผู้ มีลายเกล็ดจางๆที่อกและสีข้าง นกวัยอ่อน : สีคล้ำกว่า มีลายเกล็ดที่หัว หลัง และลำตัวด้านล่าง ชนิดย่อย lucionensis กระหม่อมสีเทาตลอดไปถึงหลัง ชนิดย่อย superciliosus (พบไม่บ่อย) กระหม่อมสีน้ำตาลแดงสดใส หน้าผากและลำตัวด้านล่างขาวมาก
ถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง : พื้นที่เกษตรกรรมและที่โล่งต่างๆ ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร
หล่งอ้างอิง : คู่มือดูนกหมอบุญส่ง เลขะกุล นกเมืองไทย และหนังสือนกในเมืองไทย เล่ม 4 รศ.โอภาส ขอบเขตต์ ครับผม