คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
ขออธิบายตามภาพนี้ครับ
ตัวอย่างการคำนวณนะครับ หลุมดำมวลขนาด 20 เท่าของดวงอาทิตย์
ก็จะมีรัศมี Schwarzschild = [ (2 × (6.67408 × 10-11) × (20 × 1.989 × 1030) ] / c2
ได้เท่ากับ 59.08 กิโลเมตร
และหากคิดแรงโน้มถ่วง ณ ระยะ รัศมี Schwarzschild ก็จะได้ว่า (แทนค่าด้วยน้ำหนักตัวเรา 80 กิโลกรัม)
F = [ (6.67408 × 10-11) × 80 × (20 × 1.989 × 1030) ] / (59,0802) = 5.47 × 1013 นิวตัน
คิดเป็นความเร่งโน้มถ่วงได้เท่ากับ (5.47 × 1013) / 80 = 7.6 × 1011 m/s2
ก็ .... มากกว่าบนผิวโลกประมาณเกือบ 80,000 ล้านเท่า
จะสังเกตุได้ว่า หากลองแทนค่าลงไปแล้ว จะพบว่าแรงโน้มถ่วง ณ ระยะ รัศมี Schwarzschild
จะไม่ได้เป็น Infinity แต่จะมีค่าประมาณ 7.6 × 1011 m/s2 ในหลุมดำทุกขนาดมวล
เนื่องจากความเร่งโน้มถ่วงค่านี้ จะทำให้คำนวณ Escape velocity ได้เท่ากับ c ครับ
ตัวอย่างการคำนวณนะครับ หลุมดำมวลขนาด 20 เท่าของดวงอาทิตย์
ก็จะมีรัศมี Schwarzschild = [ (2 × (6.67408 × 10-11) × (20 × 1.989 × 1030) ] / c2
ได้เท่ากับ 59.08 กิโลเมตร
และหากคิดแรงโน้มถ่วง ณ ระยะ รัศมี Schwarzschild ก็จะได้ว่า (แทนค่าด้วยน้ำหนักตัวเรา 80 กิโลกรัม)
F = [ (6.67408 × 10-11) × 80 × (20 × 1.989 × 1030) ] / (59,0802) = 5.47 × 1013 นิวตัน
คิดเป็นความเร่งโน้มถ่วงได้เท่ากับ (5.47 × 1013) / 80 = 7.6 × 1011 m/s2
ก็ .... มากกว่าบนผิวโลกประมาณเกือบ 80,000 ล้านเท่า
จะสังเกตุได้ว่า หากลองแทนค่าลงไปแล้ว จะพบว่าแรงโน้มถ่วง ณ ระยะ รัศมี Schwarzschild
จะไม่ได้เป็น Infinity แต่จะมีค่าประมาณ 7.6 × 1011 m/s2 ในหลุมดำทุกขนาดมวล
เนื่องจากความเร่งโน้มถ่วงค่านี้ จะทำให้คำนวณ Escape velocity ได้เท่ากับ c ครับ
แสดงความคิดเห็น
แรงโน้มถ่วงของ "หลุมดำ" มีค่าเท่าไหร่ครับ