1.เข่าบาดเจ็บแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ Acute Injury เช่นการเล่นกีฬา อุบัติเหตุ หรือ Degeneration เป็นการเสื่อมแบบสึกหรอ
2. เอ็นไขว้หน้า ACL เกิดบ่อยในนักกีฬา เกิดจากการบิดขาเร็ว และอาจร่วมด้วยกับ หมอนรองเข่า ACL เลิอดผ่านน้อยโอกาสน้อยที่จะหายเอง
3. เอ็นยังมีอีก 3 ชิ้น เอ็นไขว้หลัง เอ็นข้างใน MCL และ เอ็นข้างนอก LCL มักเกิดจากการกระแทกและหายเองได้ถ้าไม่รุนแรง เพราะมีเลือดไหลผ่าน
4 หมอนรองกระดูกเข่ามี 2 ชิ้นคล้ายตัว c คือ Medial Menuscus อยู่ด้านใน กินพื้นที่รับแรง 70% และ Lateral Meniscuss อยู่ด้านนอก กินพื้นที่ รับแรง 50%
5 การผ่าตัดหมอนอย่างเดียว ฟื้นตัวไวกว่า ผ่าตัดเปลี่ยน
ACL สามารถค้นหาข้อมูลได้ทั่วไปเกี่ยวการฟื้นตัวอย่างละเอียด
6 การผ่าตัดหมอนมี 2 แบบคือ เย็บ Meniscus Repair หรือตัดทิ้ง Meniscectomy การตัดทิ้ง ตัดทิ้งฟื้นตัวไวกว่า และการเย็บก็ยังมีอัตราล้มเหลว โอกาสที่สามารถเย็บน้อยกว่า การตัดนำไปสู่โรคข้อเข่า
7 มีงานวิจัยมากมายที่พบว่าการผ่าตัด หมอนรองกระดูก บางครั้งไม่ช่วยให้ดีขึ้น และยังทำให้เข่าเสื่อมไวขึ้น (ลองค้นคำว่า Useless Meniscectomy จะขึ้นมาเยาะ)
8 มีงานวิจัยว่าการผ่าตัด ACL นำไปสู่เข่าเสื่อมเช่นกัน เพราะองศาของ ACL ใหม่
9 คนที่ผ่าตัด ACL และ Meniscus มีโอาสเสื่อมไวขึ้น
โดยเฉพาะ ACL และ Lateral Meniscus ซึ่งรับภาระแรงมากกว่า Medial Meniscus ตามที่ข้อ 4
10. การไม่ผ่าตัดเปลี่ยน ACL และ Meniscus ก็นำไปสู่เข่าเสื่อมเช่นก้น แม้ว่า บาดเจ็บแค่ ACL เพราะ ACL ทำหน้าที่สร้างความเสถึยรให้ขา เมื่อเข่าไม่เสถียรการเสียดสีและเสียต่อหมอนย่อมมากขึ้น
11. การผ่าตัดเข่ามีอายุการใช้งาน เพราะการสึกหรอของเข่าดังกล่าวถ้าการผ่าตัดไม่ผิดพลาดใช้งานปรกติอาจมากกว่า 20 ปี กรณีเล่นกีฬาหนักๆ อาจไม่ถึง 10 ปี
12 การสึกหรอ หรือเสื่อมของเข่าอาจจะไม่แสดงอาการจนเป็นมากพอ ข้อเสียนี้อาจเป็นข้อดีว่าในช่วงเวลาดังกล่าวคุณใช้เวลาเต็มที่อย่างไม่เจ็บปวด ก่อนที่คุณจะต้องมาผ่าตัดอีกครั้ง
13 การตัดสินว่าควรผ่าหรือไม่จึงขึ้นกับวัย เช่นอายุ 20 ยังอยาก Active และไม่ต้องระวังในการใช้ขา
14 การเล่น Weight ที่ถูกต้องช่วยให้มวลกระดูกเข่าแข็งแรง กรณีเข่าคนปรกติ แต่เมื่อเข่าบาดเจ็บเนื่องจาก ACL หรือหมอนรองกระดูก กีฬาที่เหมาะสมจะเป็น ว่ายน้ำ และ ปั่นจักรยาน มีงานวิจัยว่าช่วยสร้างกล้ามเนื้อ และ cardio แต่ไม่สร้างมวลกระดูก แต่การ Squat หรือ Deadlift ด้วย Body Weight หรือใช้น้ำหนักเบา ว่าถ้าไม่มุมต่ำกว่า 90 องศาจะปลอดภัยหรือไม่ปลอดภัยอย่างไร ขณะเดียวกันก็เคยทราบว่า นักยกน้ำนัก หมอนรองเข่าจะหนากว่าปรกติยังไม่แน่ใจยังไม่เห็นงานวิจัย
15 เมื่อเข่าเสื่อม กระดูกน่องเสียดสีกับกระดูกหน้าแข่งจนต้องผ่าตัด เนื่องจากเทคโนโลยีการเปลี่ยนหมอนยังอยู่ในช่วงทดลองและรอการอนุมัติ น่าจะอีก 2-3 ปี ถ้าจำไม่ผิด เทคโนโลยีเดียวตอนนี้คือ ต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข้า Knee Replacement
16 Knee Replacement จะเป็นทางเลือกสุดท้ายเพราะมีอายุการใช้งานเช่นกัน 20-25 ปี และถ้าจะแก้ไขเข่าอีกรอบเรียกว่า Revision Knee Replacement ซึ่งใช้เวลามากกว่ามากต้องซ่อมรื้อของเก่า แพทย์จึงมักแนะนำทางเลือกสุดท้าย และอายุเกิน 50 แล้ว
17 การตัดสินใจผ่าตัดหรือไม่นอกจากอายุ life style แล้ว อาการปัจจุบันมีผลต่อคุณภาพชีวิตมากแค่ไหน
ตปท จะเน้นการกายภาพบำบัดสร้างกล้ามเนื้อก่อน
การยึดขาได้สุดไหม พับขาได้ปรกติไหม จำเป็นต้องเล่นกีฬา หรือกิจกรรมอืนๆ หรือไม่ การผ่าตัดหรือไม่ผ่าตัดจึงต้องรอบคอบ ดังสำนวนภาษาอังกฤษว่า lesser of two evils ไม่ว่าเลือกอย่างในก็แย่ ขึ้นกับว่าประเมินแล้ว
อะไรแย่กว่า
ความจริงเกี่ยวกับ การผ่าตัดเข่า
2. เอ็นไขว้หน้า ACL เกิดบ่อยในนักกีฬา เกิดจากการบิดขาเร็ว และอาจร่วมด้วยกับ หมอนรองเข่า ACL เลิอดผ่านน้อยโอกาสน้อยที่จะหายเอง
3. เอ็นยังมีอีก 3 ชิ้น เอ็นไขว้หลัง เอ็นข้างใน MCL และ เอ็นข้างนอก LCL มักเกิดจากการกระแทกและหายเองได้ถ้าไม่รุนแรง เพราะมีเลือดไหลผ่าน
4 หมอนรองกระดูกเข่ามี 2 ชิ้นคล้ายตัว c คือ Medial Menuscus อยู่ด้านใน กินพื้นที่รับแรง 70% และ Lateral Meniscuss อยู่ด้านนอก กินพื้นที่ รับแรง 50%
5 การผ่าตัดหมอนอย่างเดียว ฟื้นตัวไวกว่า ผ่าตัดเปลี่ยน
ACL สามารถค้นหาข้อมูลได้ทั่วไปเกี่ยวการฟื้นตัวอย่างละเอียด
6 การผ่าตัดหมอนมี 2 แบบคือ เย็บ Meniscus Repair หรือตัดทิ้ง Meniscectomy การตัดทิ้ง ตัดทิ้งฟื้นตัวไวกว่า และการเย็บก็ยังมีอัตราล้มเหลว โอกาสที่สามารถเย็บน้อยกว่า การตัดนำไปสู่โรคข้อเข่า
7 มีงานวิจัยมากมายที่พบว่าการผ่าตัด หมอนรองกระดูก บางครั้งไม่ช่วยให้ดีขึ้น และยังทำให้เข่าเสื่อมไวขึ้น (ลองค้นคำว่า Useless Meniscectomy จะขึ้นมาเยาะ)
8 มีงานวิจัยว่าการผ่าตัด ACL นำไปสู่เข่าเสื่อมเช่นกัน เพราะองศาของ ACL ใหม่
9 คนที่ผ่าตัด ACL และ Meniscus มีโอาสเสื่อมไวขึ้น
โดยเฉพาะ ACL และ Lateral Meniscus ซึ่งรับภาระแรงมากกว่า Medial Meniscus ตามที่ข้อ 4
10. การไม่ผ่าตัดเปลี่ยน ACL และ Meniscus ก็นำไปสู่เข่าเสื่อมเช่นก้น แม้ว่า บาดเจ็บแค่ ACL เพราะ ACL ทำหน้าที่สร้างความเสถึยรให้ขา เมื่อเข่าไม่เสถียรการเสียดสีและเสียต่อหมอนย่อมมากขึ้น
11. การผ่าตัดเข่ามีอายุการใช้งาน เพราะการสึกหรอของเข่าดังกล่าวถ้าการผ่าตัดไม่ผิดพลาดใช้งานปรกติอาจมากกว่า 20 ปี กรณีเล่นกีฬาหนักๆ อาจไม่ถึง 10 ปี
12 การสึกหรอ หรือเสื่อมของเข่าอาจจะไม่แสดงอาการจนเป็นมากพอ ข้อเสียนี้อาจเป็นข้อดีว่าในช่วงเวลาดังกล่าวคุณใช้เวลาเต็มที่อย่างไม่เจ็บปวด ก่อนที่คุณจะต้องมาผ่าตัดอีกครั้ง
13 การตัดสินว่าควรผ่าหรือไม่จึงขึ้นกับวัย เช่นอายุ 20 ยังอยาก Active และไม่ต้องระวังในการใช้ขา
14 การเล่น Weight ที่ถูกต้องช่วยให้มวลกระดูกเข่าแข็งแรง กรณีเข่าคนปรกติ แต่เมื่อเข่าบาดเจ็บเนื่องจาก ACL หรือหมอนรองกระดูก กีฬาที่เหมาะสมจะเป็น ว่ายน้ำ และ ปั่นจักรยาน มีงานวิจัยว่าช่วยสร้างกล้ามเนื้อ และ cardio แต่ไม่สร้างมวลกระดูก แต่การ Squat หรือ Deadlift ด้วย Body Weight หรือใช้น้ำหนักเบา ว่าถ้าไม่มุมต่ำกว่า 90 องศาจะปลอดภัยหรือไม่ปลอดภัยอย่างไร ขณะเดียวกันก็เคยทราบว่า นักยกน้ำนัก หมอนรองเข่าจะหนากว่าปรกติยังไม่แน่ใจยังไม่เห็นงานวิจัย
15 เมื่อเข่าเสื่อม กระดูกน่องเสียดสีกับกระดูกหน้าแข่งจนต้องผ่าตัด เนื่องจากเทคโนโลยีการเปลี่ยนหมอนยังอยู่ในช่วงทดลองและรอการอนุมัติ น่าจะอีก 2-3 ปี ถ้าจำไม่ผิด เทคโนโลยีเดียวตอนนี้คือ ต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข้า Knee Replacement
16 Knee Replacement จะเป็นทางเลือกสุดท้ายเพราะมีอายุการใช้งานเช่นกัน 20-25 ปี และถ้าจะแก้ไขเข่าอีกรอบเรียกว่า Revision Knee Replacement ซึ่งใช้เวลามากกว่ามากต้องซ่อมรื้อของเก่า แพทย์จึงมักแนะนำทางเลือกสุดท้าย และอายุเกิน 50 แล้ว
17 การตัดสินใจผ่าตัดหรือไม่นอกจากอายุ life style แล้ว อาการปัจจุบันมีผลต่อคุณภาพชีวิตมากแค่ไหน
ตปท จะเน้นการกายภาพบำบัดสร้างกล้ามเนื้อก่อน
การยึดขาได้สุดไหม พับขาได้ปรกติไหม จำเป็นต้องเล่นกีฬา หรือกิจกรรมอืนๆ หรือไม่ การผ่าตัดหรือไม่ผ่าตัดจึงต้องรอบคอบ ดังสำนวนภาษาอังกฤษว่า lesser of two evils ไม่ว่าเลือกอย่างในก็แย่ ขึ้นกับว่าประเมินแล้ว
อะไรแย่กว่า