เป็นการวิเคราะห์ด้วยความเห็นภายในกลุ่มเท่านั้นไม่ได้ต้องการส่งผลกระทบกับผู้เขียนหรือภาคส่วนใดๆทั้งสิ้นค่ะ🙏
ที่มา:
https://www.matichon.co.th/columnists/news_1052371
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผู้เขียนบทความ "ความทรงจำที่ผลิตขึ้นจากปฏิบัติการถ้ำหลวง"เริ่มบทความก็ได้มีการตั้งคำถามจากตัวผู้เขียนว่า"ถ้าสังคมไทยจะจดจำเหตุการณ์ที่ถ้ำหลวงขุนน้ำนางนอน เราควรจะจดจำอย่างไร ?" ซึ่งตัวผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านเกิดคำถามและฉุกคิดว่าเหตุการณ์ช่วยเหลืออย่างเต็มที่ของทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ มีทั้งปัญหาที่เกิดขึ้น,ภัยธรรมชาติ,อันตราย,ผู้ประสบภัย,ผู้วิพากษ์วิจารณ์มีทั้งดีและไม่ดี,ผู้เกาะกระแส ฯลฯ แน่นอนว่าในข่าวเหตุการณ์นี้ได้เสนอในแง่มุมของการช่วยเหลือซึ่งคนไทยทุกคนก็ประทับใจเป็นอย่างมากที่ความทรงจำที่เราจดจำกันมา แต่มองในอีกแง่มุมทางผู้เขียนในคำถามอยากให้เราชวนให้คิดว่าเราควรจดจำแบบนี้จริงหรือทั้งที่มีตัวอย่างที่ดีและไม่ดีแล้วในคำถาม"ถ้าสังคงคมไทยจะจดจำเหตุการณ์ที่ถ้ำหลวงขุนน้ำนางนอน เราควรจะจดจำอย่างไร ?" คุณอยากจะจดจำแบบไหนนอกเหนือจากความรู้สึกประทับใจกับประโยคที่เขาเขียนว่า"ตรงกันข้ามกับที่หลายคนคิด ความจำเป็นเรื่องที่สั่งได้หรือพูดให้ตรงกว่าคือสร้างเงื่อนไขให้จำอะไรไม่จำอะไรและอะไรที่ต้องจำนั้นควรทำอย่างไร?"
"สื่อ คือสินค้าที่ป้อนความต้องการ(จริงหรือเทียม)ของตลาด" เป็นประโยคที่เข้ากับสังคมโลกในปัจจุบันครอบคลุมทุกอย่างสามารถมองเห็นได้ทุกที่เมื่อเราต้องการแต่สื่อก็ป้อนสิ่งที่เราไม่ต้องการถึงแม้คุณไม่อยากรับรู้แต่คุณก็ได้รับรู้เช่นเดียวกัน ดังนั้นสื่อจึงเป็น"ช้อนอัตโนมัติ"ที่คอยป้อนสิ่งต่างๆทั้งดีและไม่ดีให้คุณทั้งที่คุณไม่สามารถปฏิเสธได้เลยการที่เราเห็นสื่อออกข่าวถ้ำหลวงคล้ายๆกันในทีวีแน่นอนว่าเราต้องมีความทรงจำที่เห็นเหมือนกันเพราะทุกช่องข่าวเหมือนกัน(จากการที่ดูข่าวเกือบทุกวัน:ข่าวทุกช่องออกข่าวเนื้อหาเหมือนกันเกือบทุกข่าวไม่ต่างกันเลยซักช่องเหมือนมีบล็อคข่าวเดียวกันไม่ใช่แค่ข่าวถ้ำหลวงเท่านั้น)หากจะเป็นการกล่อมเกลา,เกลี้ยกล่อม,กำกับชักใยให้เป็นความทรงจำเดียวกันจริงหรือมองเห็นไปทางเดียวกันในสมัยที่สื่อเยอะแบบนี้ก็อาจเป็นไปอย่างง่ายดายตามที่ผู้เขียนบอก
การที่เขาสร้างรูปปั้นจ่าแซมขึ้นมาอย่างที่ผู้เขียนแจงรูปปั้นวีรบุรุษนั้นคืออดีตเสมอสิ่งที่เขาทำล้วนไม่เกี่ยวกับอนาคตเลยซึ่งนั่นหมายโดยนัยที่เขานำมาขยายความและเอามาเขียนบทความนี้ ทั้งเขายังได้เขียนถึงต่างประเทศที่เขามาช่วยเหลือท่ามกลางความขัดแย้งนานาชนิดที่ดำเนินไปในโลกปัจจุบัน อีกทั้งพม่าที่คนไทยมองว่าเป็นอริก็มาช่วยและลาวก็เช่นกัน ตัวผู้เขียนมองเห็นถึงจุดนี้ที่เรามองเห็นเพียงความช่วยเหลือแต่ในมุมมองส่วนตัวถึงประเด็นนี้เหมือนกับการ"ลงแขกถ้ำหลง"หรือเป็นการ"ลงแขกความทรงจำ"เนื่องจากประเทศไทยอาจเคยเป็นอริกับพม่า พม่าก็ได้มาสร้างมุมมองใหม่ด้วยการมาช่วยและให้ความทรงจำใหม่และลาวที่มาช่วยเพราะอาจเป็นประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศต่างอีกมากมายที่มาช่วย ที่บอกว่าเป็นการลงแขกเอาแรงเนื่องจากเหมือนการมาช่วยไว้ถ้าเกิดเหตุอันใดกับประเทศของตัวเองเขาก็จะมาช่วยเหมือนกัน(ทั้งนี้อาจจะเป็นความเต็มใจของเขาเองก็เป็นได้🙏😂)ก็เหมือนกับที่ประเทศเราไปช่วยประเทศเขาเมื่อประเทศเราเกิดเหตุเขาก็มาช่วยประเทศของเรา
ผู้เขียนยังเปรียบข่าวนี้เหมือนกับละครน้ำเน่าหลังข่าวที่จบแล้วก็ไม่มีผลใดๆมันจึงกลายเป็นอดีตโดยไม่สัมพันธ์กับอนาคตจึงเปรียบเสมือนข่าวน้ำเน่านั่นเอง "เพราะเมื่อเรารู้อยู่แล้วว่าละครเรื่องนี้น้ำเน่าแต่ก็ยังดูฉันใด ข่าวน้ำเน่าเช่นนี้เราก็ต้องเสพทุกวันฉันนั้น"
ตัวผู้เขียนเขาอาจมีจิตสำนึกในการพบเห็นข่าวผู้ประสบภัยเห็นถึงความลำบากทั้งคนช่วยเหลือเเละคนติดถ้ำและจ่าแซมที่เสียชีวิต จิตกึ่งสำนึกของเขาของเขาที่เขียนบทความตามแบบที่เขาเคยเขียนแบบที่มีประสบการณ์เขียนอาจถูกใจหรือไม่ถูกใจใครบ้างและเขาอาจมีจิตไร้สำนึกที่อยากเขียนตามใจเนื่องจากไม่พอใจสื่ออยู่บ้างหรืออาจไม่ชอบอะไร แต่ในการยับยั้งเขาได้ใช้ประสบการณ์ทั้งหมดเขียนออกมาในรูปแบบที่อ่านแล้วคิดตามชวนตั้งคำถามแทน
ประเด็นที่พูดถึง
ความทรงจำที่ 1 รูปปั้นของจ่าแซม
ความทรงจำที่ 2 รูปทรงของอาคารที่แสดงความเป็นไทยและความเป็นไทยๆ
ประเด็นที่ ( คุณ ประชา สุวีรานนท์ ) ที่พูดในเรื่องนี้
ความเป็นไทย อัตลักษณ์ที่คนไทยคิดขึ้นมาว่าเป็นชนชั้นนำ
ความเป็นไทยๆ คือสิ่งที่อยู่ต่ำกว่าชนชั้นนำได้แก่ชนชั้นกลาง
จุดประสงค์ที่สร้างอนุสาวรีย์ในมุมมองที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ ( คุณประชา สุวีรานนท์ ) พูดถึง
เพื่อจะได้จดจำความหมายนั้นคือวีรกรรมและความเสียสละกับความเป็นไทยและความเป็นไทยๆ
จุดประสงค์ของการเขียนข่าว
มุ้งหมายจะชี้ให้เห็นถึง ความทรงจำทั้งหลายนั้นไม่ได้มีมาตามธรรมชาติหากถูกกล่อมเกลาและชักใยให้กลายเป็นความทรงจำร่วมของสังคมหากไม่ตระหนักประเด็นนี้ให้ดีก็จะไม่สำนึกว่าความทรงจำย่อมมีทางเลือกเสมอถ้าเราไม่เลือกคนอื่นก็ต้องเลือกให้เรา
ข้อดีข้อเสีย
-การที่เขาเขียนแบบนี้เป็นการเขียนที่มีนัยยะเขียนอ่านง่านน่าอ่านแต่ตีความได้หลายอย่าง
-ทำให้ผู้อ่านได้คิดตามและตั้งคำถามไปด้วยบอกเป็นโดยนัยว่าอย่าไปเชื่อสื่อเพียงอย่างเดียว
-เป็นการวิจารณ์ข่าวไทยที่เสนอข่าวนี้ทั้งวันเพียงข่าวเดียวข่าวสำคัญข่าวอื่นๆเกือบไม่มีเลยซักข่าว
-ตัวผู้เขียนอาจจะมีอคติกับสื่อ
-การที่ผู้เขียนเขียนว่าเรื่องข่าวถ้ำหลวงไม่เกี่ยวกับอนาคตซึ่งที่จริงแล้วถ้าดูข่าวเขาจะบอกว่าเมื่อเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นอีกเราจะมีการเตรียมความพร้อมมากขึ้น
กลุ่มผู้วิเคราะห์ วิชาศิลปะวิจารณ์
นางสาว ศิริรัตน์ แสงแก้ว 58120534
นางสาว กิตติยา จตุรวงศ์ 58120073
สาขา ศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมศาสตร์
หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ. ที่นี้ค่ะ🙏
วิเคราะห์วิจารณ์บทความ"ความทรงจำที่ผลิตขึ้นจากปฏิบัติการถ้ำหลวง"จากบทความของผู้เขียน นิธิ เอียวศรีวงศ์ Matichon Online
ที่มา: https://www.matichon.co.th/columnists/news_1052371
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผู้เขียนบทความ "ความทรงจำที่ผลิตขึ้นจากปฏิบัติการถ้ำหลวง"เริ่มบทความก็ได้มีการตั้งคำถามจากตัวผู้เขียนว่า"ถ้าสังคมไทยจะจดจำเหตุการณ์ที่ถ้ำหลวงขุนน้ำนางนอน เราควรจะจดจำอย่างไร ?" ซึ่งตัวผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านเกิดคำถามและฉุกคิดว่าเหตุการณ์ช่วยเหลืออย่างเต็มที่ของทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ มีทั้งปัญหาที่เกิดขึ้น,ภัยธรรมชาติ,อันตราย,ผู้ประสบภัย,ผู้วิพากษ์วิจารณ์มีทั้งดีและไม่ดี,ผู้เกาะกระแส ฯลฯ แน่นอนว่าในข่าวเหตุการณ์นี้ได้เสนอในแง่มุมของการช่วยเหลือซึ่งคนไทยทุกคนก็ประทับใจเป็นอย่างมากที่ความทรงจำที่เราจดจำกันมา แต่มองในอีกแง่มุมทางผู้เขียนในคำถามอยากให้เราชวนให้คิดว่าเราควรจดจำแบบนี้จริงหรือทั้งที่มีตัวอย่างที่ดีและไม่ดีแล้วในคำถาม"ถ้าสังคงคมไทยจะจดจำเหตุการณ์ที่ถ้ำหลวงขุนน้ำนางนอน เราควรจะจดจำอย่างไร ?" คุณอยากจะจดจำแบบไหนนอกเหนือจากความรู้สึกประทับใจกับประโยคที่เขาเขียนว่า"ตรงกันข้ามกับที่หลายคนคิด ความจำเป็นเรื่องที่สั่งได้หรือพูดให้ตรงกว่าคือสร้างเงื่อนไขให้จำอะไรไม่จำอะไรและอะไรที่ต้องจำนั้นควรทำอย่างไร?"
"สื่อ คือสินค้าที่ป้อนความต้องการ(จริงหรือเทียม)ของตลาด" เป็นประโยคที่เข้ากับสังคมโลกในปัจจุบันครอบคลุมทุกอย่างสามารถมองเห็นได้ทุกที่เมื่อเราต้องการแต่สื่อก็ป้อนสิ่งที่เราไม่ต้องการถึงแม้คุณไม่อยากรับรู้แต่คุณก็ได้รับรู้เช่นเดียวกัน ดังนั้นสื่อจึงเป็น"ช้อนอัตโนมัติ"ที่คอยป้อนสิ่งต่างๆทั้งดีและไม่ดีให้คุณทั้งที่คุณไม่สามารถปฏิเสธได้เลยการที่เราเห็นสื่อออกข่าวถ้ำหลวงคล้ายๆกันในทีวีแน่นอนว่าเราต้องมีความทรงจำที่เห็นเหมือนกันเพราะทุกช่องข่าวเหมือนกัน(จากการที่ดูข่าวเกือบทุกวัน:ข่าวทุกช่องออกข่าวเนื้อหาเหมือนกันเกือบทุกข่าวไม่ต่างกันเลยซักช่องเหมือนมีบล็อคข่าวเดียวกันไม่ใช่แค่ข่าวถ้ำหลวงเท่านั้น)หากจะเป็นการกล่อมเกลา,เกลี้ยกล่อม,กำกับชักใยให้เป็นความทรงจำเดียวกันจริงหรือมองเห็นไปทางเดียวกันในสมัยที่สื่อเยอะแบบนี้ก็อาจเป็นไปอย่างง่ายดายตามที่ผู้เขียนบอก
การที่เขาสร้างรูปปั้นจ่าแซมขึ้นมาอย่างที่ผู้เขียนแจงรูปปั้นวีรบุรุษนั้นคืออดีตเสมอสิ่งที่เขาทำล้วนไม่เกี่ยวกับอนาคตเลยซึ่งนั่นหมายโดยนัยที่เขานำมาขยายความและเอามาเขียนบทความนี้ ทั้งเขายังได้เขียนถึงต่างประเทศที่เขามาช่วยเหลือท่ามกลางความขัดแย้งนานาชนิดที่ดำเนินไปในโลกปัจจุบัน อีกทั้งพม่าที่คนไทยมองว่าเป็นอริก็มาช่วยและลาวก็เช่นกัน ตัวผู้เขียนมองเห็นถึงจุดนี้ที่เรามองเห็นเพียงความช่วยเหลือแต่ในมุมมองส่วนตัวถึงประเด็นนี้เหมือนกับการ"ลงแขกถ้ำหลง"หรือเป็นการ"ลงแขกความทรงจำ"เนื่องจากประเทศไทยอาจเคยเป็นอริกับพม่า พม่าก็ได้มาสร้างมุมมองใหม่ด้วยการมาช่วยและให้ความทรงจำใหม่และลาวที่มาช่วยเพราะอาจเป็นประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศต่างอีกมากมายที่มาช่วย ที่บอกว่าเป็นการลงแขกเอาแรงเนื่องจากเหมือนการมาช่วยไว้ถ้าเกิดเหตุอันใดกับประเทศของตัวเองเขาก็จะมาช่วยเหมือนกัน(ทั้งนี้อาจจะเป็นความเต็มใจของเขาเองก็เป็นได้🙏😂)ก็เหมือนกับที่ประเทศเราไปช่วยประเทศเขาเมื่อประเทศเราเกิดเหตุเขาก็มาช่วยประเทศของเรา
ผู้เขียนยังเปรียบข่าวนี้เหมือนกับละครน้ำเน่าหลังข่าวที่จบแล้วก็ไม่มีผลใดๆมันจึงกลายเป็นอดีตโดยไม่สัมพันธ์กับอนาคตจึงเปรียบเสมือนข่าวน้ำเน่านั่นเอง "เพราะเมื่อเรารู้อยู่แล้วว่าละครเรื่องนี้น้ำเน่าแต่ก็ยังดูฉันใด ข่าวน้ำเน่าเช่นนี้เราก็ต้องเสพทุกวันฉันนั้น"
ตัวผู้เขียนเขาอาจมีจิตสำนึกในการพบเห็นข่าวผู้ประสบภัยเห็นถึงความลำบากทั้งคนช่วยเหลือเเละคนติดถ้ำและจ่าแซมที่เสียชีวิต จิตกึ่งสำนึกของเขาของเขาที่เขียนบทความตามแบบที่เขาเคยเขียนแบบที่มีประสบการณ์เขียนอาจถูกใจหรือไม่ถูกใจใครบ้างและเขาอาจมีจิตไร้สำนึกที่อยากเขียนตามใจเนื่องจากไม่พอใจสื่ออยู่บ้างหรืออาจไม่ชอบอะไร แต่ในการยับยั้งเขาได้ใช้ประสบการณ์ทั้งหมดเขียนออกมาในรูปแบบที่อ่านแล้วคิดตามชวนตั้งคำถามแทน
ประเด็นที่พูดถึง
ความทรงจำที่ 1 รูปปั้นของจ่าแซม
ความทรงจำที่ 2 รูปทรงของอาคารที่แสดงความเป็นไทยและความเป็นไทยๆ
ประเด็นที่ ( คุณ ประชา สุวีรานนท์ ) ที่พูดในเรื่องนี้
ความเป็นไทย อัตลักษณ์ที่คนไทยคิดขึ้นมาว่าเป็นชนชั้นนำ
ความเป็นไทยๆ คือสิ่งที่อยู่ต่ำกว่าชนชั้นนำได้แก่ชนชั้นกลาง
จุดประสงค์ที่สร้างอนุสาวรีย์ในมุมมองที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ ( คุณประชา สุวีรานนท์ ) พูดถึง
เพื่อจะได้จดจำความหมายนั้นคือวีรกรรมและความเสียสละกับความเป็นไทยและความเป็นไทยๆ
จุดประสงค์ของการเขียนข่าว
มุ้งหมายจะชี้ให้เห็นถึง ความทรงจำทั้งหลายนั้นไม่ได้มีมาตามธรรมชาติหากถูกกล่อมเกลาและชักใยให้กลายเป็นความทรงจำร่วมของสังคมหากไม่ตระหนักประเด็นนี้ให้ดีก็จะไม่สำนึกว่าความทรงจำย่อมมีทางเลือกเสมอถ้าเราไม่เลือกคนอื่นก็ต้องเลือกให้เรา
ข้อดีข้อเสีย
-การที่เขาเขียนแบบนี้เป็นการเขียนที่มีนัยยะเขียนอ่านง่านน่าอ่านแต่ตีความได้หลายอย่าง
-ทำให้ผู้อ่านได้คิดตามและตั้งคำถามไปด้วยบอกเป็นโดยนัยว่าอย่าไปเชื่อสื่อเพียงอย่างเดียว
-เป็นการวิจารณ์ข่าวไทยที่เสนอข่าวนี้ทั้งวันเพียงข่าวเดียวข่าวสำคัญข่าวอื่นๆเกือบไม่มีเลยซักข่าว
-ตัวผู้เขียนอาจจะมีอคติกับสื่อ
-การที่ผู้เขียนเขียนว่าเรื่องข่าวถ้ำหลวงไม่เกี่ยวกับอนาคตซึ่งที่จริงแล้วถ้าดูข่าวเขาจะบอกว่าเมื่อเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นอีกเราจะมีการเตรียมความพร้อมมากขึ้น
กลุ่มผู้วิเคราะห์ วิชาศิลปะวิจารณ์
นางสาว ศิริรัตน์ แสงแก้ว 58120534
นางสาว กิตติยา จตุรวงศ์ 58120073
สาขา ศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมศาสตร์
หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ. ที่นี้ค่ะ🙏