คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 31
จิตตวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งจิต
คือ จิตที่สมดุล เพราะวิริยะพละเสมอกับสมาธิพละ
ทำให้สมาธิก็สมดุล วิริยะก็สมดุล
เป็นปัจจัยให้สติกำหนดรู้อยู่ในปัจจุบันขณะได้อย่างพอดี
ไม่ไปในอนาคตเพราะวิริยะมีมาก
ไม่อยู่ในอดีตเพราะสมาธิมีกำลังมากไป
เป็นการฝึกอบรมจิต
จนบังเกิดขณิกสมาธิที่ปราศจากนิวรณ์
เพราะสติต่อเนื่องจนนิวรณ์ไม่สามารถเข้าแทรกในจิตได้
อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญ ทำให้เจริญวิปัสสนาได้ง่าย
ไม่มีการพูดถึงการชำระวิญญาณให้หมดจดเลย
ไม่มีการอบรมวิญญาณให้ตั้งมั่นเลย
คือ จิตที่สมดุล เพราะวิริยะพละเสมอกับสมาธิพละ
ทำให้สมาธิก็สมดุล วิริยะก็สมดุล
เป็นปัจจัยให้สติกำหนดรู้อยู่ในปัจจุบันขณะได้อย่างพอดี
ไม่ไปในอนาคตเพราะวิริยะมีมาก
ไม่อยู่ในอดีตเพราะสมาธิมีกำลังมากไป
เป็นการฝึกอบรมจิต
จนบังเกิดขณิกสมาธิที่ปราศจากนิวรณ์
เพราะสติต่อเนื่องจนนิวรณ์ไม่สามารถเข้าแทรกในจิตได้
อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญ ทำให้เจริญวิปัสสนาได้ง่าย
ไม่มีการพูดถึงการชำระวิญญาณให้หมดจดเลย
ไม่มีการอบรมวิญญาณให้ตั้งมั่นเลย
แสดงความคิดเห็น
มีตรงไหนในพระไตรปิฏกที่ว่าชำระวิญญาณให้บริสุทธิ?
ชื่อว่ามีรากฐานมั่นคงที่จะทำสมาธิ
เพื่อชำระใจให้บริสุทธิอีกต่อไป
แต่ถ้าสีลยังไม่บริสุทธิ มีขาด ด่างพร้อย ทะลุอยู่
ก็ยากที่จะทำให้บังเกิดมีสมาธิขึ้นมาได้