วิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ ม.รังสิต จำเป็นต้องสอบเข้าไหม

วิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ ม.รังสิต จำเป็นต้องสอบเข้าไหม ผมเรียนสายศิลป์-คำนวณแต่อยากเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ ไม่ทราบว่าต้องสอบเข้ามั้ยครับ หรือสายนี้เข้าได้มั้ยครับ

ขอบคุณครับ
คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
มหาวิทยาลัย เอกชน มหาวิทยาลัยรังสิต ไม่มี วิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ มีแต่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

สอบ ไม่สอบ จะ กลัว อะไร ถ้า เตรียมตัว ดี พรอ้ม สอบ

จบ สายสามัญ   ศิลป์คำนวณ ไปได้ บาง คณะ สาขา ภาควิชา มหาวิทยาลัย

ถ้า เกรด ไม่ถึง 2.50 อาจจะต้อง สอบเข้า

มหาวิทยาลัย เอกชน มหาวิทยาลัยรังสิต เทอม ภาคเรียน S Summer ซัมเมอร์ ฤดูร้อน ประมาณ 30,000 เทอม ภาคเรียน 1 ประมาณ 40,000 เทอม ภาคเรียน 2 ประมาณ 40,000 ตลอดหลักสูตร ตั้งไว้เลย 400,000

มหาวิทยาลัย มี ทั้ง มหาวิทยาลัย เอกชน และ มหาวิทยาลัย รัฐบาล

ทุก โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย จะมี ทุน ขอ ทุน
กู้ กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ
กู้ กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต กรอ

ลอง สอบเข้า มหาวิทยาลัย รัฐบาล ดูก่อน ถ้า สอบ ไม่ติด ค่อยเข้า มหาวิทยาลัย เอกชน

ชื่อ คณะ สาขา ภาควิชา ก็ บอกอยู่แล้ว
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน

คอมพิวเตอร์ แต่ละ สาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์ ทุกสาขา ภาควิชา หนีการเขียนโปรแกรม ไม่พ้น
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีให้เลือกเรียน เยอะ

ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนา เกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็ มี เรียน เขียนโปรแกรม

ไม่ว่า จะเขียนโปรแกรม เกม ต้องมี ออกแบบ Design User Interface UI

ฟิสิกส์ เป็น ความรู้พื้นฐาน อิเล็กทรอนิกส์
คณิตศาสตร์ เป็น ความรู้พื้นฐาน วิศวกรรมศาสตร์

วิศวกรรมศาสตร์ ทุกสาขา ภาควิชา ต้องได้ เรียน ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คำนวณ ต้องได้
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คำนวณ วิทยาศาสตร์ อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า ภาษา ต้องได้

คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ E

คอมพิวเตอร์ อ่าน อย่างเดียว ไม่ได้ ต้อง ปฏิบัติ ด้วย
เขียนโปรแกรม อ่าน ให้ เข้าใจ ปิด หนังสือ ลอง ตั้งโจทย์ ขึ้นมา เขียน ตามความเข้าใจของเรา
เกิด ข้อผิดพลาด Error Bug ต้อง Edit Code แก้ไขโค้ด ได้ ด้วยตนเอง ไม่พึ่ง คนอื่น เพราะ ไม่มี ใคร มานั่งชี้แนะ ได้ ตลอด เวลา

คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ เขียนโปรแกรม และ ฮาร์ดแวร์
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์

ภาษาจาวา ต้องมี ความรู้พื้นฐาน ภาษาซี
ภาษาไพธอน
ภาษาอา
ภาษาPHP

คอมพิวเตอร์ ทุกสาขา ภาควิชา จะเรียน เหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis SA จะต่างกัน ตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา

คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป

เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป

เว็บ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
เว็บ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป

น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น อย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียน

บางคนคิดว่า ถนัด พอมาเรียน จริง ๆ เรียน ไม่ไหว ไม่ได้ ทุก ปี ทุก มหาวิทยาลัย มี ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา เสีย ทั้ง เงิน และ เวลา

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์  ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า  อิเลคทรอนิกส์  วิศวกรรมศาสตร์  วิทยาศาสตร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี  การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล  ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา  C และ  Visual C++ ตลอดจนภาษา  Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา  Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ  Digital ได้  ซึ่งประกอบด้วย  อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
.  ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล  และซอฟตแวร์ควบคุม
.  ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
.  ออกแบบระบบเว็บบอร์ด  โดยใช้ภาษา HTML
.  ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ  VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
.  การบริการระบบ  Internet
.  วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
.  วิศวกรควบคุม
.  Software Developer
.  System Engineer
.  Multimedia System Engineer  
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์   การออกแบบ   สร้าง   ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว   (Embeded System)   การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน   VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit)   การออกแบบ   ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย   รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง   ๆ   กัน

อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา
- วิศวกรคอมพิวเตอร์
- วิศวกรระบบเครือข่าย
- วิศวกรระบบความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
- วิศวกรระบบฝังตัว
- วิศวกรวางระบบคอมพิวเตอร์
- วิศวกรดูแลเครือข่ายระบบคอมพิวเตอร์
- ผู้ผลิตและพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
- นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- นักจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรต่างๆ

โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา   ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง   หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น   นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์   ผู้ดูแลเว็บไซต์   นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ   โปรแกรมเมอร์   นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย   ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ   ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว   ผู้ออกแบบระบบ   VLSI   ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว   ฯลฯ   นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ   SME   ที่เป็นของตนเอง   รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ

สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไปได้ หลากหลายอาชีพ ถ้า ไม่ทำงาน ด้าน วิศว ก็ทำงานด้าน คอมพิวเตอร์ ถ้า ไม่ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ก็ทำงาน ด้าน วิศว

จบ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ควรมี ใบกว ประกอบวิชาชีพ
จบ สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ควรมี วุฒิบัตร ประกาศนียบัตร ใบ Certificate

คอมพิวเตอร์ เกม เว็บ ถ้า ไม่เรียน โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย คณะ สาขา ภาควิชา เอก ที่เกี่ยวข้อง ไปเรียน เพิ่มเติม ข้างนอก ก็ได้

หนังสือ คอมพิวเตอร์ บางเล่ม หา ยาก เยอะ แล้ว ถ้า จะหา ต้องไป หา ห้องสมุดประชาชน ตามจังหวัด นั้น ๆ
หนังสือ คอมพิวเตอร์ บางเล่ม ยังไม่มี ภาษาไทย มีแต่ ภาษาอังกฤษ E Textbook

หนังสือ เกม บางเล่ม หา ยาก เยอะ แล้ว ถ้า จะหา ต้องไป หา ห้องสมุดประชาชน ตามจังหวัด นั้น ๆ
หนังสือ เกม บางเล่ม ยังไม่มี ภาษาไทย มีแต่ ภาษาอังกฤษ E Textbook

หนังสือ เว็บ บางเล่ม หา ยาก เยอะ แล้ว ถ้า จะหา ต้องไป หา ห้องสมุดประชาชน ตามจังหวัด นั้น ๆ
หนังสือ เว็บ บางเล่ม ยังไม่มี ภาษาไทย มีแต่ ภาษาอังกฤษ E Textbook

ภาษา  ใช้ในการเรียน ต่อ และ การทำงาน

เอา ที่ คุณ สบายใจ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่