คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
จากที่พี่คห.ที่สองแนะนำนะคะ เผื่อปวดตาค่ะ
Although loneliness has always been part of human existence, it has a relatively short history as a subject of psychological investigation. As developed by the psychiatrist John Bowlby during the second half of the 20th century, attachment theory emphasizes the importance of a strong emotional bond between the infant and the caregiver; it stands as a forerunner to contemporary theories of loneliness. From that perspective, loneliness occurs when children with insecure attachment patterns behave in ways that result in their being rejected by their peers. Those rejections hinder their development of social skills and increase their distrust of other people, thereby fostering ongoing loneliness.
แม้ว่าความเหงาจะอยู่คู่กับการดำรงอยู่ของมนุษย์มาโดยตลอด แต่ก็มีความเป็นมาค่อนข้างสั้นในฐานะวิชาการวิจัยทางด้านจิตวิทยา ทฤษฎีความผูกพันที่ได้รับการพัฒนาโดยจิตแพทย์ จอห์น โบวล์บี ระหว่างช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่20 เน้นความสำคัญของสายใยด้านอารมณ์ที่มั่นคงระหว่างเด็กทารกและผู้เลี้ยงดู ซึ่งยืนยันในฐานะที่เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีแห่งความเหงาร่วมสมัยว่า ความเหงาจากภาพรวมนั้นเกิดขึ้นเมื่อเด็กที่มีรูปแบบความผูกพันที่ไม่มั่นคง ประพฤติในทางที่ถูกปฏิเสธจากเพื่อนของเขา การปฏิเสธเหล่านั้นขัดขวางการพัฒนาทักษะการเข้าสังคม และเพิ่มความไม่ไว้วางใจของพวกเขาต่อบุคคลอื่น ๆ เนื่องจากส่งเสริมให้ความเหงายังคงอยู่อย่างต่อเนื่อง
Attachment theory was the foundation for an influential psychological theory of loneliness developed by the sociologist Robert S. Weiss. Weiss identified six social needs that, if unmet, contribute to feelings of loneliness. Those needs are attachment, social integration, nurturance, reassurance of worth, sense of reliable alliance, and guidance in stressful situations. As would be predicted by attachment theory, Weiss maintained that friendships complement but do not substitute for a close, intimate relationship with a partner in staving off loneliness.
ทฤษฎีความรักใคร่ผูกพันได้เป็นรากฐานของทฤษฎีจิตวิทยาซึ่งมีอิทธิพลต่อความเหงา ถูกพัฒนาโดยนักสังคมวิทยา โรเบิร์ต เอส ไวส์ ได้ระบุความต้องการทางสังคมไว้ 6 อย่างว่า หากเผชิญสภาวะที่ไม่น่าพอใจ ก็จะก่อให้เกิดความรู้สึกเหงา ความต้องการเหล่านั้นก็คือ ความรักใคร่ผูกพัน การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การช่วยเอื้อประโยชน์แก่ผู้อื่น การยอมรับและการเห็นคุณค่า ความรู้สึกถึงความมั่นคงที่เชื่อถือได้ และการชี้แนะเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่เผชิญกับความเครียด จากทฤษฏีที่ถูกคาดการณ์นั้น ไวส์ได้ยืนยันว่าการเติมเต็มมิตรภาพไม่ได้แทนที่ความสนิทสนม แต่ความสัมพันธ์ที่สนิทสนมต่อเพื่อนต่างหากที่ขจัดความเหงาออกไป
Another theoretical perspective, the behavioral approach, holds that loneliness is characterized by personality traits that are associated with, and possibly contribute to, harmful patterns of interpersonal interaction. For instance, loneliness is correlated with social anxiety, social inhibition (shyness), sadness, hostility, distrust, and low self-esteem, characteristics that hamper one’s ability to interact in skillful and rewarding ways. Indeed, lonely individuals have been shown to have difficulty forming and maintaining meaningful relationships. They are also less likely to share information about themselves with their peers, and that helps to explain why they report a lack of intimacy with close friends.
มุมมองทฤษฎีอีกอย่างหนึ่งซึ่งก็คือการเข้าถึงพฤติกรรมได้ครอบคลุมว่า ความเหงาถูกแสดงโดยลักษณะทางพฤติกรรม บุคลิกภาพที่เกี่ยวข้องกันในรูปแบบที่เป็นอันตรายต่อการมีปฏิกิริยาต่อกันระหว่างบุคคล และมีส่วนช่วยอย่างเป็นไปได้ ยกตัวอย่างเช่น ความเหงาถูกเกี่ยวข้องกับความวิตกทางสังคม การต่อต้านอารมณ์ต่อสังคม (ความประหม่า) ความเศร้า ความโกรธแค้น และความภาคภูมิใจในตัวเองต่ำ คุณลักษณะที่ขัดขวางความสามารถของบุคคลที่มีปฏิกิริยาต่อกันในด้านทักษะความชำนาญและวิถีชีวิตที่มีคุณค่า ตามความเป็นจริง บุคคลที่รู้สึกเปล่าเปลี่ยวได้ถูกแสดงออกมาในรูปแบบที่แตกต่างกันและยังคงรักษาความสัมพันธ์ที่มีความหมาย พวกเขามีแนวโน้มน้อยที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตัวพวกเขาต่อเพื่อน และนั่นช่วยอธิบายว่าทำไมพวกเขารายงานให้ทราบว่าเขาขาดความไว้วางใจต่อเพื่อนสนิท
The cognitive approach to loneliness is based on the fact that loneliness is characterized by distinct differences in perceptions and attributions. Lonely individuals tend to have a pessimistic general outlook: they are more negative than are individuals who are not lonely about the people, events, and circumstances in their lives, and they tend to blame themselves for not being able to achieve satisfactory social relationships. In addition, the cognitive approach largely takes account of the attachment and behavioral perspectives by explaining how (a) failure to meet the need for attachment, social integration, nurturance, and other social needs results in perceived relationship discrepancies that are experienced as loneliness, and (b) loneliness is perpetuated by way of a self-fulfilling prophecy in which poor social skills result in unsatisfactory personal relationships that in turn result in negative self-attributions that lead to further social isolation and relationship dissatisfaction.
แนวคิดเชิงรู้คิดต่อความเหงานั้นขึ้นอยู่กับความจริงที่ว่า ความเหงาถูกแสดงพฤติกรรมจากความแตกต่างที่ชัดเจนในการรับรู้และความเข้าใจ บุคคลที่มีความรู้สึกเหงานั้นมีแนวโน้มที่มีมุมมองส่วนตัวในทางลบ พวกเขามองโลกในแง่ร้ายมากกว่าบุคคลที่ที่ไม่ได้รู้สึกโดดเดี่ยวจากผู้คน เหตุการณ์ และสภาวะแวดล้อมในการดำรงชีวิตของพวกเขา ทำให้พวกเขามีแนวโน้มที่โทษตัวเองที่ไม่ได้ประสบผลสำเร็จด้านความสัมพันธ์ทางสังคมให้เป็นที่พอใจ นอกจากนั้น แนวคิดเชิงรู้คิดนั้นได้คำนึงถึงความผูกพันและทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นอย่างมาก นอกจากนั้น แนวคิดเชิงรู้คิดนั้นได้คำนึงถึงความผูกพันและทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นอย่างมาก โดยอธิบายว่าความล้มเหลวต่อการต้องการความรักใคร่ผูกพัน การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การได้ช่วยเอื้อประโยชน์แก่บุคคลอื่น และผลลัพธ์ของความต้องการทางสังคมอื่น ๆ จากความขัดแย้งทางความสัมพันธ์ที่ได้รับ ซึ่งทำให้ประสบกับความเหงา และความเหงาทำให้สิ่งที่คาดคะเนนั้นย้ำความเชื่อของตนว่าตนมีทักษะการเข้าสังคมที่แย่ ซึ่งเป็นผลมาจากการอ้างถึงตนเองในแง่ร้าย และนั่นก็ได้นำไปสู่การปลีกจากสังคม และความไม่พอใจในความสัมพันธ์มากขึ้น
Although loneliness has always been part of human existence, it has a relatively short history as a subject of psychological investigation. As developed by the psychiatrist John Bowlby during the second half of the 20th century, attachment theory emphasizes the importance of a strong emotional bond between the infant and the caregiver; it stands as a forerunner to contemporary theories of loneliness. From that perspective, loneliness occurs when children with insecure attachment patterns behave in ways that result in their being rejected by their peers. Those rejections hinder their development of social skills and increase their distrust of other people, thereby fostering ongoing loneliness.
แม้ว่าความเหงาจะอยู่คู่กับการดำรงอยู่ของมนุษย์มาโดยตลอด แต่ก็มีความเป็นมาค่อนข้างสั้นในฐานะวิชาการวิจัยทางด้านจิตวิทยา ทฤษฎีความผูกพันที่ได้รับการพัฒนาโดยจิตแพทย์ จอห์น โบวล์บี ระหว่างช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่20 เน้นความสำคัญของสายใยด้านอารมณ์ที่มั่นคงระหว่างเด็กทารกและผู้เลี้ยงดู ซึ่งยืนยันในฐานะที่เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีแห่งความเหงาร่วมสมัยว่า ความเหงาจากภาพรวมนั้นเกิดขึ้นเมื่อเด็กที่มีรูปแบบความผูกพันที่ไม่มั่นคง ประพฤติในทางที่ถูกปฏิเสธจากเพื่อนของเขา การปฏิเสธเหล่านั้นขัดขวางการพัฒนาทักษะการเข้าสังคม และเพิ่มความไม่ไว้วางใจของพวกเขาต่อบุคคลอื่น ๆ เนื่องจากส่งเสริมให้ความเหงายังคงอยู่อย่างต่อเนื่อง
Attachment theory was the foundation for an influential psychological theory of loneliness developed by the sociologist Robert S. Weiss. Weiss identified six social needs that, if unmet, contribute to feelings of loneliness. Those needs are attachment, social integration, nurturance, reassurance of worth, sense of reliable alliance, and guidance in stressful situations. As would be predicted by attachment theory, Weiss maintained that friendships complement but do not substitute for a close, intimate relationship with a partner in staving off loneliness.
ทฤษฎีความรักใคร่ผูกพันได้เป็นรากฐานของทฤษฎีจิตวิทยาซึ่งมีอิทธิพลต่อความเหงา ถูกพัฒนาโดยนักสังคมวิทยา โรเบิร์ต เอส ไวส์ ได้ระบุความต้องการทางสังคมไว้ 6 อย่างว่า หากเผชิญสภาวะที่ไม่น่าพอใจ ก็จะก่อให้เกิดความรู้สึกเหงา ความต้องการเหล่านั้นก็คือ ความรักใคร่ผูกพัน การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การช่วยเอื้อประโยชน์แก่ผู้อื่น การยอมรับและการเห็นคุณค่า ความรู้สึกถึงความมั่นคงที่เชื่อถือได้ และการชี้แนะเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่เผชิญกับความเครียด จากทฤษฏีที่ถูกคาดการณ์นั้น ไวส์ได้ยืนยันว่าการเติมเต็มมิตรภาพไม่ได้แทนที่ความสนิทสนม แต่ความสัมพันธ์ที่สนิทสนมต่อเพื่อนต่างหากที่ขจัดความเหงาออกไป
Another theoretical perspective, the behavioral approach, holds that loneliness is characterized by personality traits that are associated with, and possibly contribute to, harmful patterns of interpersonal interaction. For instance, loneliness is correlated with social anxiety, social inhibition (shyness), sadness, hostility, distrust, and low self-esteem, characteristics that hamper one’s ability to interact in skillful and rewarding ways. Indeed, lonely individuals have been shown to have difficulty forming and maintaining meaningful relationships. They are also less likely to share information about themselves with their peers, and that helps to explain why they report a lack of intimacy with close friends.
มุมมองทฤษฎีอีกอย่างหนึ่งซึ่งก็คือการเข้าถึงพฤติกรรมได้ครอบคลุมว่า ความเหงาถูกแสดงโดยลักษณะทางพฤติกรรม บุคลิกภาพที่เกี่ยวข้องกันในรูปแบบที่เป็นอันตรายต่อการมีปฏิกิริยาต่อกันระหว่างบุคคล และมีส่วนช่วยอย่างเป็นไปได้ ยกตัวอย่างเช่น ความเหงาถูกเกี่ยวข้องกับความวิตกทางสังคม การต่อต้านอารมณ์ต่อสังคม (ความประหม่า) ความเศร้า ความโกรธแค้น และความภาคภูมิใจในตัวเองต่ำ คุณลักษณะที่ขัดขวางความสามารถของบุคคลที่มีปฏิกิริยาต่อกันในด้านทักษะความชำนาญและวิถีชีวิตที่มีคุณค่า ตามความเป็นจริง บุคคลที่รู้สึกเปล่าเปลี่ยวได้ถูกแสดงออกมาในรูปแบบที่แตกต่างกันและยังคงรักษาความสัมพันธ์ที่มีความหมาย พวกเขามีแนวโน้มน้อยที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตัวพวกเขาต่อเพื่อน และนั่นช่วยอธิบายว่าทำไมพวกเขารายงานให้ทราบว่าเขาขาดความไว้วางใจต่อเพื่อนสนิท
The cognitive approach to loneliness is based on the fact that loneliness is characterized by distinct differences in perceptions and attributions. Lonely individuals tend to have a pessimistic general outlook: they are more negative than are individuals who are not lonely about the people, events, and circumstances in their lives, and they tend to blame themselves for not being able to achieve satisfactory social relationships. In addition, the cognitive approach largely takes account of the attachment and behavioral perspectives by explaining how (a) failure to meet the need for attachment, social integration, nurturance, and other social needs results in perceived relationship discrepancies that are experienced as loneliness, and (b) loneliness is perpetuated by way of a self-fulfilling prophecy in which poor social skills result in unsatisfactory personal relationships that in turn result in negative self-attributions that lead to further social isolation and relationship dissatisfaction.
แนวคิดเชิงรู้คิดต่อความเหงานั้นขึ้นอยู่กับความจริงที่ว่า ความเหงาถูกแสดงพฤติกรรมจากความแตกต่างที่ชัดเจนในการรับรู้และความเข้าใจ บุคคลที่มีความรู้สึกเหงานั้นมีแนวโน้มที่มีมุมมองส่วนตัวในทางลบ พวกเขามองโลกในแง่ร้ายมากกว่าบุคคลที่ที่ไม่ได้รู้สึกโดดเดี่ยวจากผู้คน เหตุการณ์ และสภาวะแวดล้อมในการดำรงชีวิตของพวกเขา ทำให้พวกเขามีแนวโน้มที่โทษตัวเองที่ไม่ได้ประสบผลสำเร็จด้านความสัมพันธ์ทางสังคมให้เป็นที่พอใจ นอกจากนั้น แนวคิดเชิงรู้คิดนั้นได้คำนึงถึงความผูกพันและทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นอย่างมาก นอกจากนั้น แนวคิดเชิงรู้คิดนั้นได้คำนึงถึงความผูกพันและทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นอย่างมาก โดยอธิบายว่าความล้มเหลวต่อการต้องการความรักใคร่ผูกพัน การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การได้ช่วยเอื้อประโยชน์แก่บุคคลอื่น และผลลัพธ์ของความต้องการทางสังคมอื่น ๆ จากความขัดแย้งทางความสัมพันธ์ที่ได้รับ ซึ่งทำให้ประสบกับความเหงา และความเหงาทำให้สิ่งที่คาดคะเนนั้นย้ำความเชื่อของตนว่าตนมีทักษะการเข้าสังคมที่แย่ ซึ่งเป็นผลมาจากการอ้างถึงตนเองในแง่ร้าย และนั่นก็ได้นำไปสู่การปลีกจากสังคม และความไม่พอใจในความสัมพันธ์มากขึ้น
แสดงความคิดเห็น
รบกวนตรวจสอบบทความแปลจากอิ๊งเป็นไทยให้หน่อยค่ะ ขอบคุณมากๆ ค่ะ
ถึงแม้ว่าความเหงามักเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่มันก็มีความเป็นมาสั้น ๆ อย่างเกี่ยวข้องกัน ในงานวิจัยด้านจิตวิทยา ทฤษฎีความผูกพันที่ได้รับการพัฒนาโดยจิตแพทย์ จอห์น โบวล์บี ระหว่างช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่20 เน้นความสำคัญของสายใยด้านอารมณ์ที่มั่นคงระหว่างเด็กทารกและผู้เลี้ยงดู ซึ่งยืนยันในฐานะที่เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีแห่งความเหงาร่วมสมัยว่า ความเหงาจากภาพรวมนั้นเกิดขึ้นเมื่อเด็กที่มีรูปแบบความผูกพันที่ไม่มั่นคง ประพฤติในทางที่ถูกปฏิเสธจากเพื่อนของเขา การปฏิเสธเหล่านั้นขัดขวางการพัฒนาทักษะการเข้าสังคม และเพิ่มความไม่ไว้วางใจของพวกเขาต่อบุคคลอื่น ๆ เนื่องจากส่งเสริมให้ความเหงายังคงอยู่อย่างต่อเนื่อง
ทฤษฎีความรักใคร่ผูกพันได้เป็นรากฐานของทฤษฎีจิตวิทยาซึ่งมีอิทธิพลต่อความเหงา ถูกพัฒนาโดยนักสังคมวิทยา โรเบิร์ต เอส ไวส์ ได้ระบุความต้องการทางสังคมไว้ 6 อย่างว่า หากเผชิญสภาวะที่ไม่น่าพอใจ ก็จะก่อให้เกิดความรู้สึกเหงา ความต้องการเหล่านั้นก็คือ ความรักใคร่ผูกพัน การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การช่วยเอื้อประโยชน์แก่ผู้อื่น การยอมรับและการเห็นคุณค่า ความรู้สึกถึงความมั่นคงที่เชื่อถือได้ และการชี้แนะเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่เผชิญกับความเครียด จากทฤษฏีที่ถูกคาดการณ์นั้น ไวส์ได้ยืนยันว่าการเติมเต็มมิตรภาพไม่ได้แทนที่ความสนิทสนม แต่ความสัมพันธ์ที่สนิทสนมต่อเพื่อนต่างหากที่ขจัดความเหงาออกไป
มุมมองทฤษฎีอีกอย่างหนึ่งซึ่งก็คือการเข้าถึงพฤติกรรมได้ครอบคลุมว่า ความเหงาถูกแสดงโดยลักษณะทางพฤติกรรม บุคลิกภาพที่เกี่ยวข้องกันในรูปแบบที่เป็นอันตรายต่อการมีปฏิกิริยาต่อกันระหว่างบุคคล และมีส่วนช่วยอย่างเป็นไปได้ ยกตัวอย่างเช่น ความเหงาถูกเกี่ยวข้องกับความวิตกทางสังคม การต่อต้านอารมณ์ต่อสังคม (ความประหม่า) ความเศร้า ความโกรธแค้น และความภาคภูมิใจในตัวเองต่ำ คุณลักษณะที่ขัดขวางความสามารถของบุคคลที่มีปฏิกิริยาต่อกันในด้านทักษะความชำนาญและวิถีชีวิตที่มีคุณค่า ตามความเป็นจริง บุคคลที่รู้สึกเปล่าเปลี่ยวได้ถูกแสดงออกมาในรูปแบบที่แตกต่างกันและการรักษาความสัมพันธ์ที่มีความหมาย พวกเขามีแนวโน้มน้อยที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตัวพวกเขาต่อเพื่อน และนั่นช่วยอธิบายว่าทำไมพวกเขารายงานให้ทราบว่าเขาขาดความไว้วางใจต่อเพื่อนสนิท
แนวคิดเชิงรู้คิดต่อความเหงานั้นขึ้นอยู่กับความจริงที่ว่า ความเหงาถูกแสดงพฤติกรรมจากความแตกต่างที่ชัดเจนในการรับรู้และความเข้าใจ บุคคลที่มีความรู้สึกเหงานั้นมีแนวโน้มที่มีมุมมองส่วนตัวในทางลบ พวกเขามองโลกในแง่ร้ายมากกว่าบุคคลที่ที่ไม่ได้รู้สึกโดดเดี่ยวจากผู้คน เหตุการณ์ และสภาวะแวดล้อมในการดำรงชีวิตของพวกเขา ทำให้พวกเขามีแนวโน้มที่โทษตัวเองที่ไม่ได้ประสบผลสำเร็จด้านความสัมพันธ์ทางสังคมให้เป็นที่พอใจ นอกจากนั้น แนวคิดเชิงรู้คิดนั้นได้คำนึงถึงความผูกพันและทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นอย่างมาก โดยอธิบายว่าความล้มเหลวต่อการต้องการความรักใคร่ผูกพัน การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การได้ช่วยเอื้อประโยชน์แก่บุคคลอื่น และผลลัพธ์ของความต้องการทางสังคมอื่น ๆ จากความขัดแย้งทางความสัมพันธ์ที่ได้รับ ซึ่งทำให้ประสบกับความเหงา และความเหงาทำให้สิ่งที่คาดคะเนนั้นย้ำความเชื่อของตนว่าตนมีทักษะการเข้าสังคมที่แย่ ซึ่งเป็นผลมาจากการอ้างถึงตนเองในแง่ร้าย และนั่นก็ได้นำไปสู่การปลีกจากสังคม และความไม่พอใจในความสัมพันธ์มากขึ้น
Although loneliness has always been part of human existence, it has a relatively short history as a subject of psychological investigation. As developed by the psychiatrist John Bowlby during the second half of the 20th century, attachment theory emphasizes the importance of a strong emotional bond between the infant and the caregiver; it stands as a forerunner to contemporary theories of loneliness. From that perspective, loneliness occurs when children with insecure attachment patterns behave in ways that result in their being rejected by their peers. Those rejections hinder their development of social skills and increase their distrust of other people, thereby fostering ongoing loneliness.
Attachment theory was the foundation for an influential psychological theory of loneliness developed by the sociologist Robert S. Weiss. Weiss identified six social needs that, if unmet, contribute to feelings of loneliness. Those needs are attachment, social integration, nurturance, reassurance of worth, sense of reliable alliance, and guidance in stressful situations. As would be predicted by attachment theory, Weiss maintained that friendships complement but do not substitute for a close, intimate relationship with a partner in staving off loneliness.
Another theoretical perspective, the behavioral approach, holds that loneliness is characterized by personality traits that are associated with, and possibly contribute to, harmful patterns of interpersonal interaction. For instance, loneliness is correlated with social anxiety, social inhibition (shyness), sadness, hostility, distrust, and low self-esteem, characteristics that hamper one’s ability to interact in skillful and rewarding ways. Indeed, lonely individuals have been shown to have difficulty forming and maintaining meaningful relationships. They are also less likely to share information about themselves with their peers, and that helps to explain why they report a lack of intimacy with close friends.
The cognitive approach to loneliness is based on the fact that loneliness is characterized by distinct differences in perceptions and attributions. Lonely individuals tend to have a pessimistic general outlook: they are more negative than are individuals who are not lonely about the people, events, and circumstances in their lives, and they tend to blame themselves for not being able to achieve satisfactory social relationships. In addition, the cognitive approach largely takes account of the attachment and behavioral perspectives by explaining how (a) failure to meet the need for attachment, social integration, nurturance, and other social needs results in perceived relationship discrepancies that are experienced as loneliness, and (b) loneliness is perpetuated by way of a self-fulfilling prophecy in which poor social skills result in unsatisfactory personal relationships that in turn result in negative self-attributions that lead to further social isolation and relationship dissatisfaction.
Source : https://www.britannica.com/science/loneliness
หนูเลือกแปลบทความนี้เพราะอ่านด้านจิตวิทยาค่อนข้างบ่อย และชอบเรื่องเกี่ยวกับสภาวะทางอารมณ์ และก็ค่อนข้างน่าสนใจค่ะ เพราะว่าทุกๆ คนล้วนเคยเกิดอารมณ์เหงา ขอบคุณทุกๆ คอมเม้นต์นะคะ
ปล.หนูไม่ใช้canว่าสามารถนะคะ เคยได้ยินคอมเม้นต์ว่าคำว่า "สามารถ" ฟังแล้วดูไม่เป็นธรรมชาติ ซึ่งหนูพยายามทำให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด และก็พยายามนำไปปรับปรุงแก้ไขค่ะ
ขอบคุณทุกคำติชมนะคะ หนูพยายามปรับปรุงและพัฒนาตัวเองมากขึ้นค่ะ
หากอยากอ่านทีละ paragraph ให้อ่านคห.ที่4นะคะ