ร.ล. จักรีนฤเบศร 911 เป็นเรือบรรทุกเฮริคอปเตอร์.ค่าก่อสร้างสมัยนั้น 7100ล้าน เราจึงต้องจัดหาเรือบรรทุกเครื่องบินจริงๆ อีกลำ
และเพิ่มงบ ออกทะเลบ่อยๆ คนจะได้ไม่ว่า ว่าจอดไว้
แต่ถ้าเพิ่มงบแล้วต้องไปหาเงินเพิ่ม มันก็ไม่น่าจะดี
เรือไม่จำเป็นต้อง ออกทะเลตลอดปี การออกทะเล มีค่าใช้จ่าย ค่าเบี้ยเลี้ยงกำลังพล
เรือรบมีการออกทะเลตามวงรอบอยู่แล้ว และออกตามความจำเป็น ในแต่ละภารกิจ
................................
ภาพสมัย ที่เข้าประจำการใหม่ๆ 2540 ช่วงนั้นไทยเกิด ต้มยำกุ้ง พอดี
ดีที่ ทร. จ่ายเงินหมดแล้ว และรอรับเรือ แค่ต่อเสร็จ
ทร.ก็ กำไร ทางบัญชีแล้ว 7000 กว่าล้าน บาท เพราะ ค่าเงินบาท ขึ้นไปจาก 25 บาท ไป 54 บาท
ถ้าต่อตอน 54 บาท จะต้องใช้ เงิน 14200 บาท
แบบนี้ น่าจะต่อ 2 ลำเลยนะ.. ต่อสองลำ กำไรทางบัญชี 14000 ล้าน
เอากำไรค่าเงิน ไปต่อ เรือฟรีเกตติดอาวุธได้อีก สองลำ ... เกิด ทร. ถือเงิน ดอลล่าร์ที่ 25
แลกกลับที่ 52 แต่ ซื้อ สวอค่าเงินไว้แล้ว
"""" รูป ตอนมี เครื่องบินประจำกัน อาจจะมีน้อย
เพราะ สมัยยนั้น การถ่ายภาพคงไม่ได้ถ่ายไ้เยอะอะไร
คนมีกล้อง ยังไม่มาก

เรือหลวง จักรี ต่อมาด้วยงบประมาณ 7100 ล้านบาท
และ เฮริเออร์ มือสอง ก็ไม่ใช่ของแถมฟรี แต่เป็นการตั้งงบซื้อ
...............
เรือหลวงจักรีนฤเบศร (อังกฤษ: HTMS Chakri Naruebet; ย่อ: CVH-911) เป็นเรือธงและเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกและลำเดียวของราชนาวีไทย ประจำการในส่วนกำลังรบของกองทัพเรือ เป็นเรือที่ต่อขึ้นจากประเทศสเปน
โดยนำแบบมาจากเรือ ปรินซีเปเดอัสตูเรียส (Principe de Asturias) ของกองทัพเรือสเปน โดยปรับปรุงระบบขับเคลื่อน ระบบควบคุมการบิน ระบบอาวุธ และลดระวางขับน้ำลงเหลือสองในสาม ขึ้นระวางประจำการเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2540 ได้ใช้งานปฏิบัติภารกิจด้านยุทธการและช่วยเหลือภัยพิบัติตลอดน่านน้ำไทยทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน
...
ช่วงปี 2530 กองทัพเรือไทยมีแต่เรือรบขนาดเล็ก และอย่างช่วงปี 2526 โซเวียตส่งเรือบรรทุกเครื่องบินมาลอยอยู่ในอ่าวไทย
กองทัพเรือไทยได้แค่ดูอยู่เฉยๆ เพราะไม่มีเรือที่จะออกทะเลไปใกล้เรือบรรทุกเครื่องบินโซเวียตได้
ในปี พ.ศ. 2532 ได้เกิดพายุไต้ฝุ่นเกย์ในอ่าวไทยบริเวณจังหวัดชุมพรกองทัพเรือได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ซึ่งทางกองทัพได้ใช้เรือและอากาศยานในการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย แต่ประสบปัญหาคือเรือขนาดใหญ่ที่สุดที่กองทัพเรือมีอยู่ขณะนั้นไม่สามารถทนสภาพทะเลได้ ทำให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยกระทำได้ด้วยความยากลำบาก
การมีเรือขนาดใหญ่พร้อมอุปกรณ์ทันสมัยจะสามารถใช้ในการค้นหาและให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลได้อย่างรวดเร็วและทันการ และหากว่ามีเฮลิคอปเตอร์ประจำการบนเรือจะช่วยขยายพื้นที่ในการลาดตระเวนและระยะเวลาในการปฏิบัติการในทะเลได้เป็นเวลานานและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กองทัพเรือจึงได้มีแนวความคิด ในการสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เพื่อให้สามารถบรรลุภารกิจตามความมุ่งหมาย
เดิมรัฐบาลไทยได้วางแผนจัดซื้อเรือบัญชาการสนับสนุนการยกพลขึ้นบก ขนาดระวาง 7,800 ตันจากบริษัทเบรเมอร์ วัลแคนของเยอรมนี แต่ได้ทำการยกเลิกสัญญาเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 และทำการจัดซื้อใหม่จากบริษัทบาซานประเทศสเปน ซึ่งเป็นผู้ออกแบบและต่อเรือปรินซีเปเดอัสตูเรียส เรือธงของกองทัพเรือสเปนในขณะนั้น คณะรัฐมนตรีของไทยได้มีมติเมื่อ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 อนุมัติให้กองทัพเรือว่าจ้างสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ในลักษณะรัฐบาลต่อรัฐบาล ลงนามโดยรัฐบาลไทยและรัฐบาลสเปนในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นเงิน 7,100 ล้านบาท
..
ร.ล.จักรีนฤเบศร เป็นเรือบรรทุกเฮริคอปเตอร์.ค่าก่อสร้างสมัยนั้น 7100ล้าน น่าจะต่อมา 2ลำ -เราต้องจัดหาเรือบรรทุกเครื่องบิน
และเพิ่มงบ ออกทะเลบ่อยๆ คนจะได้ไม่ว่า ว่าจอดไว้
แต่ถ้าเพิ่มงบแล้วต้องไปหาเงินเพิ่ม มันก็ไม่น่าจะดี
เรือไม่จำเป็นต้อง ออกทะเลตลอดปี การออกทะเล มีค่าใช้จ่าย ค่าเบี้ยเลี้ยงกำลังพล
เรือรบมีการออกทะเลตามวงรอบอยู่แล้ว และออกตามความจำเป็น ในแต่ละภารกิจ
................................
ภาพสมัย ที่เข้าประจำการใหม่ๆ 2540 ช่วงนั้นไทยเกิด ต้มยำกุ้ง พอดี
ดีที่ ทร. จ่ายเงินหมดแล้ว และรอรับเรือ แค่ต่อเสร็จ
ทร.ก็ กำไร ทางบัญชีแล้ว 7000 กว่าล้าน บาท เพราะ ค่าเงินบาท ขึ้นไปจาก 25 บาท ไป 54 บาท
ถ้าต่อตอน 54 บาท จะต้องใช้ เงิน 14200 บาท
แบบนี้ น่าจะต่อ 2 ลำเลยนะ.. ต่อสองลำ กำไรทางบัญชี 14000 ล้าน
เอากำไรค่าเงิน ไปต่อ เรือฟรีเกตติดอาวุธได้อีก สองลำ ... เกิด ทร. ถือเงิน ดอลล่าร์ที่ 25
แลกกลับที่ 52 แต่ ซื้อ สวอค่าเงินไว้แล้ว
"""" รูป ตอนมี เครื่องบินประจำกัน อาจจะมีน้อย
เพราะ สมัยยนั้น การถ่ายภาพคงไม่ได้ถ่ายไ้เยอะอะไร
คนมีกล้อง ยังไม่มาก
เรือหลวง จักรี ต่อมาด้วยงบประมาณ 7100 ล้านบาท
และ เฮริเออร์ มือสอง ก็ไม่ใช่ของแถมฟรี แต่เป็นการตั้งงบซื้อ
...............
เรือหลวงจักรีนฤเบศร (อังกฤษ: HTMS Chakri Naruebet; ย่อ: CVH-911) เป็นเรือธงและเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกและลำเดียวของราชนาวีไทย ประจำการในส่วนกำลังรบของกองทัพเรือ เป็นเรือที่ต่อขึ้นจากประเทศสเปน
โดยนำแบบมาจากเรือ ปรินซีเปเดอัสตูเรียส (Principe de Asturias) ของกองทัพเรือสเปน โดยปรับปรุงระบบขับเคลื่อน ระบบควบคุมการบิน ระบบอาวุธ และลดระวางขับน้ำลงเหลือสองในสาม ขึ้นระวางประจำการเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2540 ได้ใช้งานปฏิบัติภารกิจด้านยุทธการและช่วยเหลือภัยพิบัติตลอดน่านน้ำไทยทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน
...
ช่วงปี 2530 กองทัพเรือไทยมีแต่เรือรบขนาดเล็ก และอย่างช่วงปี 2526 โซเวียตส่งเรือบรรทุกเครื่องบินมาลอยอยู่ในอ่าวไทย
กองทัพเรือไทยได้แค่ดูอยู่เฉยๆ เพราะไม่มีเรือที่จะออกทะเลไปใกล้เรือบรรทุกเครื่องบินโซเวียตได้
ในปี พ.ศ. 2532 ได้เกิดพายุไต้ฝุ่นเกย์ในอ่าวไทยบริเวณจังหวัดชุมพรกองทัพเรือได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ซึ่งทางกองทัพได้ใช้เรือและอากาศยานในการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย แต่ประสบปัญหาคือเรือขนาดใหญ่ที่สุดที่กองทัพเรือมีอยู่ขณะนั้นไม่สามารถทนสภาพทะเลได้ ทำให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยกระทำได้ด้วยความยากลำบาก
การมีเรือขนาดใหญ่พร้อมอุปกรณ์ทันสมัยจะสามารถใช้ในการค้นหาและให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลได้อย่างรวดเร็วและทันการ และหากว่ามีเฮลิคอปเตอร์ประจำการบนเรือจะช่วยขยายพื้นที่ในการลาดตระเวนและระยะเวลาในการปฏิบัติการในทะเลได้เป็นเวลานานและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กองทัพเรือจึงได้มีแนวความคิด ในการสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เพื่อให้สามารถบรรลุภารกิจตามความมุ่งหมาย
เดิมรัฐบาลไทยได้วางแผนจัดซื้อเรือบัญชาการสนับสนุนการยกพลขึ้นบก ขนาดระวาง 7,800 ตันจากบริษัทเบรเมอร์ วัลแคนของเยอรมนี แต่ได้ทำการยกเลิกสัญญาเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 และทำการจัดซื้อใหม่จากบริษัทบาซานประเทศสเปน ซึ่งเป็นผู้ออกแบบและต่อเรือปรินซีเปเดอัสตูเรียส เรือธงของกองทัพเรือสเปนในขณะนั้น คณะรัฐมนตรีของไทยได้มีมติเมื่อ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 อนุมัติให้กองทัพเรือว่าจ้างสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ในลักษณะรัฐบาลต่อรัฐบาล ลงนามโดยรัฐบาลไทยและรัฐบาลสเปนในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นเงิน 7,100 ล้านบาท
..