ฉบับที่ ๑๙ วันเสาร์ที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
บทความเรื่อง ปราบดาภิเษก, อภิวัฒน์สยาม, รัฐประหาร ความเหมือนที่แตกต่าง ของการล่มสลายพุทธในอินเดีย (ศึกษากรณีนาลันทาจากพระถังซังจั๋ง, ภาพรามเกียรติ์ในวัดโพธิ์, ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
เรื่องวันนี้ค่อนข้างหนักไปทางการเมือง ศาสนามากๆ หลายท่านอาจจะกลัว กับกฏหมาย การอคติ การเลือกข้าง การถูกหลอก จึงขออนุญาตอธิบายเรื่องบทความ งานวิจัย นักวิชาการคืออะไร สั้นๆก่อน (สามารถข้าม4ย่อหน้าได้ไม่เกี่ยวกับเรื่องนี้)
นักวิชาการคือผู้ทำการวิจัยในเรื่องต่างๆ ในสายที่ถนัด สนใจ และมีองค์ความรู้ตามกระบวนการ แต่ละเรื่อง โดยมีวิธีการแตกต่างกัน ขึ้นอยู่ปัญหาที่สนใจ เช่น ปัญหาความมืด เอดิสันจึงพบหลอดไฟ เริ่มจากการค้นหาข้อมูล ทฤษฎี ตั้งสมมติฐาน การทดลองซ้ำแล้วซ้ำอีกแล้วตีความจากหลักฐานข้อมูลท่ีค้นพบ
งานวิจัยมี ทั้งเชิงเอกสาร ,เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ มีแบบสอบถาม สัมภาษณ์ เป็นต้น เพื่อเกิดองค์ความรู้ใหม่ ที่ช่วยแก้ปัญหา แก้ทุกข์ และพัฒนาโลกใบน้ีให้อยู่อย่างมีความสุข ซึ่งการเห็นต่าง การคิดนอกกรอบอย่างอิสระ ทำให้โลกใบนี้มีเทคโนโลยที่ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง เช่น ไฟฟ้า ยานพาหนะ wi-fi ดาวเทียม
เรื่องราวประวัติศาสตร์ เป็นสิ่งสำคัญของนักวิจัย เพราะการทบทวนวรรณกรรม เป็นเหมือนจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหา ในการต่อยอดกับปัญหาเดิม ทั้งพัฒนาขึ้นหรือการเห็นต่างในวงวิชาการ ที่มีทั้ง Fact และ Opinion
สำหรับบทความทุกฉบับที่เขียนขึ้นผู้วิจัยมีหลักฐานอ้างอิงทุกเรื่องแต่จะขอละหลักฐานอ้างอิงเพื่อความไม่เยิ่นเย้อกินพื้นที่ และกล่าวสั้นๆกระชับหากผู้อ่านต้องการส่วนไหนเพิ่มเติมสามารถสอบถามได้
-บทนำ
ปัญหาและความสำคัญ ทำไมไทยยังไม่ปรองดอง มีการแย่งชิงอำนาจกันตลอด
ทฤษฎี หลักพุทธศาสนา หลักประวัติศาสตร์
ขอบเขต ยุคนาลันทาล่มสลาย รัชการที่ 1 ทรงปราบดาภิเษก, คณะราษฎรอภิวัฒน์สยาม, รัฐประหาร ครั้งที่ 12,13
-ประวัติศาสตร์
นาลันทาล่มสลาย พุทธหมดจากอินเดีย ศ.ทั้งหนึ่งอธิบายว่า จากกองทัพมุสลิมเข้ากวาดล้าง มีหลักฐานจากการบันทึกของพระถังซังตั๋งตอนเดินทางมาศึกษาพระพุทธศาสนาว่า ที่มหา’ลัยนาลันทา มีพระภิกษุ อาจารย์สอน นักบวช นับหมื่นชีวิต แต่ไม่ประพฤติตามพระธรรมวินัย เมื่อถูกกองทัพบุกยึด ประชาชนต่างนิ่งดูดาย
รัชกาลที่ 1 ทรงปราบดาภิเษก สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เปลี่ยนจากกรุงธนบุรี ที่ทรงประพฤติต่างจากขนบธรรมเนียม มาเป็นพระพุทธศาสนานำหน้า พระมหากษัตริย์ผู้ทรงธรรม ธัมมิกราชา เช่นผ่านวรรณคดีรามเกียรติ์
อภิวัฒน์สยาม จากคณะราษฎร 2475 ตั้งใจจะสำเร็จโทษ แต่กลัวชาติตะวุ่นวายแบบรัสเซีย จึงทำเพียงแจกใบปลิวหมิ่น และตั้งมหา’ลัยธรรมศาสตร์ ใช้หลักพุทธศาสนา (logo โดมฐาน6เหลี่ยม อุดมการณ์6ข้อ ,ตราธรรมจักรเหนือพานรัฐธรรมนูญ
รัฐประหารครั้ง 12,13 จากกลุ่มประท้วงเมืองกับรัฐต้องคดี โจมตีกันไม่ปรองดองกัน รัฐประหารมาพยายามแก้ปัญหา ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ พระพุทธศาสนา โดยตั้ง DSI มาคุมเพราะพระภิกษุไม่ประพฤติตามพระธรรมวินัย ลงข่าวตลอด ทำให้พุทธหลายกลุ่มเริ่มไม่ศรัทธาพระภิกษุ
-วิเคราะห์ข้อมูล ตั้งแต่ 2475 เป็นต้นมาเกิดการไม่ปรองดองกันของคนในชาติตลอดมาโดยเฉพาะรัฐประหาร 12 13 การแก้ปัญหาการไม่ปรองดองกันเป็นหนึ่งในนโยบายหลัก แต่ก็ยังไม่สามารถทำได้ มีข้อสังเกตที่ยังไม่ปรองดองกันเพราะไม่ได้นำหลักพระพุทธศาสนามานำหน้าเหมือนบูรพกษัตริย์ตั้งแต่ รัชกาลที่หนึ่งเป็นต้นมาทรงนำพุทธศาสนานำหน้า มิหนำซ้ำกลับโจมตีพระพุทธศาสนาว่าพระภิกษุสงฆ์ไม่ประพฤติตามพระธรรมวินัย ชาวพุทธหลายคนเริ่มหวั่นไหว หากรัฐนำกำลังเข้ากวาดล้างคงต้องเหมือนนาลันทาที่ถูกกวาดล้างโดยชาวพุทธต้องนิ่งดูดายเป็นแน่แท้ สุดท้ายความยากจนก็บังเกิดขึ้นที่ประเทศอินเดียมีขอทานเต็มพุทธคยาในขณะนี้มี
-สรุป
ประวัติศาสตร์ทำให้เราได้เห็นเรื่องราวที่มีองค์ประกอบเหตุการณ์และสามารถคาดการณ์ว่าจะเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาก็มีอยู่แล้วอยู่ที่ว่าจะนำมาใช้แก้ปัญหาหรือไม่ นักวิจัยมีเต็มบ้านเต็มเมืองก็อยู่ที่ผู้นำจะนำมาประพฤติปฏิบัติหรือเห็นสมควรอย่างไรก็ตามแต่ผู้มีอำนาจจะพาประชาชนไป
การโจมตีการใส่ร้ายนำมาซึ่งการแย่งชิงอำนาจในการเปลี่ยนการปกครองแต่หากนำหลักศาสนายึดมั่นในศีลธรรมก็สามารถรวมใจของคนในชาติได้ดังบูรพากษัตริย์ที่ทรงกระทำให้ดูเป็นแบบอย่าง
B.S.
30 มิ.ย. 2561
ถ่ายทอดสด 14.00-14.20 ณ วัดประจำรัชกาลที่1 (วัดโพธิ์) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ปราบดาภิเษก, อภิวัฒน์สยาม, รัฐประหาร ความเหมือนที่แตกต่าง ของการล่มสลายพุทธในอินเดีย
บทความเรื่อง ปราบดาภิเษก, อภิวัฒน์สยาม, รัฐประหาร ความเหมือนที่แตกต่าง ของการล่มสลายพุทธในอินเดีย (ศึกษากรณีนาลันทาจากพระถังซังจั๋ง, ภาพรามเกียรติ์ในวัดโพธิ์, ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
เรื่องวันนี้ค่อนข้างหนักไปทางการเมือง ศาสนามากๆ หลายท่านอาจจะกลัว กับกฏหมาย การอคติ การเลือกข้าง การถูกหลอก จึงขออนุญาตอธิบายเรื่องบทความ งานวิจัย นักวิชาการคืออะไร สั้นๆก่อน (สามารถข้าม4ย่อหน้าได้ไม่เกี่ยวกับเรื่องนี้)
นักวิชาการคือผู้ทำการวิจัยในเรื่องต่างๆ ในสายที่ถนัด สนใจ และมีองค์ความรู้ตามกระบวนการ แต่ละเรื่อง โดยมีวิธีการแตกต่างกัน ขึ้นอยู่ปัญหาที่สนใจ เช่น ปัญหาความมืด เอดิสันจึงพบหลอดไฟ เริ่มจากการค้นหาข้อมูล ทฤษฎี ตั้งสมมติฐาน การทดลองซ้ำแล้วซ้ำอีกแล้วตีความจากหลักฐานข้อมูลท่ีค้นพบ
งานวิจัยมี ทั้งเชิงเอกสาร ,เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ มีแบบสอบถาม สัมภาษณ์ เป็นต้น เพื่อเกิดองค์ความรู้ใหม่ ที่ช่วยแก้ปัญหา แก้ทุกข์ และพัฒนาโลกใบน้ีให้อยู่อย่างมีความสุข ซึ่งการเห็นต่าง การคิดนอกกรอบอย่างอิสระ ทำให้โลกใบนี้มีเทคโนโลยที่ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง เช่น ไฟฟ้า ยานพาหนะ wi-fi ดาวเทียม
เรื่องราวประวัติศาสตร์ เป็นสิ่งสำคัญของนักวิจัย เพราะการทบทวนวรรณกรรม เป็นเหมือนจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหา ในการต่อยอดกับปัญหาเดิม ทั้งพัฒนาขึ้นหรือการเห็นต่างในวงวิชาการ ที่มีทั้ง Fact และ Opinion
สำหรับบทความทุกฉบับที่เขียนขึ้นผู้วิจัยมีหลักฐานอ้างอิงทุกเรื่องแต่จะขอละหลักฐานอ้างอิงเพื่อความไม่เยิ่นเย้อกินพื้นที่ และกล่าวสั้นๆกระชับหากผู้อ่านต้องการส่วนไหนเพิ่มเติมสามารถสอบถามได้
-บทนำ
ปัญหาและความสำคัญ ทำไมไทยยังไม่ปรองดอง มีการแย่งชิงอำนาจกันตลอด
ทฤษฎี หลักพุทธศาสนา หลักประวัติศาสตร์
ขอบเขต ยุคนาลันทาล่มสลาย รัชการที่ 1 ทรงปราบดาภิเษก, คณะราษฎรอภิวัฒน์สยาม, รัฐประหาร ครั้งที่ 12,13
-ประวัติศาสตร์
นาลันทาล่มสลาย พุทธหมดจากอินเดีย ศ.ทั้งหนึ่งอธิบายว่า จากกองทัพมุสลิมเข้ากวาดล้าง มีหลักฐานจากการบันทึกของพระถังซังตั๋งตอนเดินทางมาศึกษาพระพุทธศาสนาว่า ที่มหา’ลัยนาลันทา มีพระภิกษุ อาจารย์สอน นักบวช นับหมื่นชีวิต แต่ไม่ประพฤติตามพระธรรมวินัย เมื่อถูกกองทัพบุกยึด ประชาชนต่างนิ่งดูดาย
รัชกาลที่ 1 ทรงปราบดาภิเษก สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เปลี่ยนจากกรุงธนบุรี ที่ทรงประพฤติต่างจากขนบธรรมเนียม มาเป็นพระพุทธศาสนานำหน้า พระมหากษัตริย์ผู้ทรงธรรม ธัมมิกราชา เช่นผ่านวรรณคดีรามเกียรติ์
อภิวัฒน์สยาม จากคณะราษฎร 2475 ตั้งใจจะสำเร็จโทษ แต่กลัวชาติตะวุ่นวายแบบรัสเซีย จึงทำเพียงแจกใบปลิวหมิ่น และตั้งมหา’ลัยธรรมศาสตร์ ใช้หลักพุทธศาสนา (logo โดมฐาน6เหลี่ยม อุดมการณ์6ข้อ ,ตราธรรมจักรเหนือพานรัฐธรรมนูญ
รัฐประหารครั้ง 12,13 จากกลุ่มประท้วงเมืองกับรัฐต้องคดี โจมตีกันไม่ปรองดองกัน รัฐประหารมาพยายามแก้ปัญหา ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ พระพุทธศาสนา โดยตั้ง DSI มาคุมเพราะพระภิกษุไม่ประพฤติตามพระธรรมวินัย ลงข่าวตลอด ทำให้พุทธหลายกลุ่มเริ่มไม่ศรัทธาพระภิกษุ
-วิเคราะห์ข้อมูล ตั้งแต่ 2475 เป็นต้นมาเกิดการไม่ปรองดองกันของคนในชาติตลอดมาโดยเฉพาะรัฐประหาร 12 13 การแก้ปัญหาการไม่ปรองดองกันเป็นหนึ่งในนโยบายหลัก แต่ก็ยังไม่สามารถทำได้ มีข้อสังเกตที่ยังไม่ปรองดองกันเพราะไม่ได้นำหลักพระพุทธศาสนามานำหน้าเหมือนบูรพกษัตริย์ตั้งแต่ รัชกาลที่หนึ่งเป็นต้นมาทรงนำพุทธศาสนานำหน้า มิหนำซ้ำกลับโจมตีพระพุทธศาสนาว่าพระภิกษุสงฆ์ไม่ประพฤติตามพระธรรมวินัย ชาวพุทธหลายคนเริ่มหวั่นไหว หากรัฐนำกำลังเข้ากวาดล้างคงต้องเหมือนนาลันทาที่ถูกกวาดล้างโดยชาวพุทธต้องนิ่งดูดายเป็นแน่แท้ สุดท้ายความยากจนก็บังเกิดขึ้นที่ประเทศอินเดียมีขอทานเต็มพุทธคยาในขณะนี้มี
-สรุป
ประวัติศาสตร์ทำให้เราได้เห็นเรื่องราวที่มีองค์ประกอบเหตุการณ์และสามารถคาดการณ์ว่าจะเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาก็มีอยู่แล้วอยู่ที่ว่าจะนำมาใช้แก้ปัญหาหรือไม่ นักวิจัยมีเต็มบ้านเต็มเมืองก็อยู่ที่ผู้นำจะนำมาประพฤติปฏิบัติหรือเห็นสมควรอย่างไรก็ตามแต่ผู้มีอำนาจจะพาประชาชนไป
การโจมตีการใส่ร้ายนำมาซึ่งการแย่งชิงอำนาจในการเปลี่ยนการปกครองแต่หากนำหลักศาสนายึดมั่นในศีลธรรมก็สามารถรวมใจของคนในชาติได้ดังบูรพากษัตริย์ที่ทรงกระทำให้ดูเป็นแบบอย่าง
B.S.
30 มิ.ย. 2561
ถ่ายทอดสด 14.00-14.20 ณ วัดประจำรัชกาลที่1 (วัดโพธิ์) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม