ทำงานวิจัยแล้วผลการวิจัยไม่เป็นไปตามสมมติฐาน อาจารย์ให้มาแก้ตัวเลขใน SPSS ให้สัมพันธ์กันแบบนี้ทำถูกหรือไม่?
ทำงานวิจัย "อิทธิพลของ A และ B ที่ส่งผล C"
โดยมีสมมติฐานว่า
"A และ B ส่งผลต่อ C"
ไปเก็บข้อมูลมาจริงและวิเคราะห์สถิติ ออกมาแล้ว ได้ผลการวิจัย
"A ไม่ส่งผลต่อ C"
ส่วน
"B ส่งผลต่อ C"
เมื่อเอาไปให้อาจารย์ตรวจ อาจารย์ให้มาปรับแก้ตัวเลขที่เราคีย์ใน SPSS เพื่อจะให้
"A ส่งผลต่อ C"
เราก็เลยเถียงอาจารย์ว่า ในเมื่อผลการวิจัยมันออกมาแบบนั้น จะต้องไปแก้ทำไม
ที่ผลมันออกมาแบบนั้นเราก็เอาตามข้อมูลจริงที่เราไปแจกแบบสอบถาม
แล้วทีนี้อาจารย์ให้มาแก้ตัวเลขใน SPSS เพื่ออยากให้ผลวิจัย เป็นไปตามสมมติฐาน
แล้วเราจะไปเก็บข้อมูลทำไม ไม่งั้นเราก็เมคข้อมูลขึ้นมาเลยสิ
เมคให้ตัวเลขใน SPSS วิเคราะห์ผลออกมาแล้วตัวแปรสัมพนธ์เราจะไปเก็บข้อมูลทำไม
บางคนทำสถิติ T-test F-test ผลออกมาไม่ซิก (ไม่แตกต่าง)
อาจารย์ก็ให้มาแก้ตัวเลขใหม่ ให้ซิกหมด
ขอสอบถามท่านผู้รู้ว่า อาจารย์ของเราทำแบบนี้ถูกต้องตามหลักวิจัยหรือไม่
ทำงานวิจัยแล้วผลการวิจัยไม่เป็นไปตามสมมติฐาน อาจารย์ให้มาแก้ตัวเลขใน SPSS ให้เป็นไปตามมติฐานแบบนี้ทำถูกหรือไม
ทำงานวิจัย "อิทธิพลของ A และ B ที่ส่งผล C"
โดยมีสมมติฐานว่า
"A และ B ส่งผลต่อ C"
ไปเก็บข้อมูลมาจริงและวิเคราะห์สถิติ ออกมาแล้ว ได้ผลการวิจัย
"A ไม่ส่งผลต่อ C"
ส่วน
"B ส่งผลต่อ C"
เมื่อเอาไปให้อาจารย์ตรวจ อาจารย์ให้มาปรับแก้ตัวเลขที่เราคีย์ใน SPSS เพื่อจะให้
"A ส่งผลต่อ C"
เราก็เลยเถียงอาจารย์ว่า ในเมื่อผลการวิจัยมันออกมาแบบนั้น จะต้องไปแก้ทำไม
ที่ผลมันออกมาแบบนั้นเราก็เอาตามข้อมูลจริงที่เราไปแจกแบบสอบถาม
แล้วทีนี้อาจารย์ให้มาแก้ตัวเลขใน SPSS เพื่ออยากให้ผลวิจัย เป็นไปตามสมมติฐาน
แล้วเราจะไปเก็บข้อมูลทำไม ไม่งั้นเราก็เมคข้อมูลขึ้นมาเลยสิ
เมคให้ตัวเลขใน SPSS วิเคราะห์ผลออกมาแล้วตัวแปรสัมพนธ์เราจะไปเก็บข้อมูลทำไม
บางคนทำสถิติ T-test F-test ผลออกมาไม่ซิก (ไม่แตกต่าง)
อาจารย์ก็ให้มาแก้ตัวเลขใหม่ ให้ซิกหมด
ขอสอบถามท่านผู้รู้ว่า อาจารย์ของเราทำแบบนี้ถูกต้องตามหลักวิจัยหรือไม่