สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
เครื่องตัดไฟรั่วพร้อมคุณสมบัติป้องกันไฟเกิน เรียกว่า "RCBO" ครับ
ไม่แนะนำให้ใช้เมน RCBO คุมทั้งบ้าน เพราะถ้ามีไฟรั่วที มันดับทั้งบ้าน หาจุดที่ไฟรั่วยากอีก (Safe-T Cut จึงตัดไปได้เลย)
ของ ชไนเดอร์ ก็โอเคครับ ผมแนะนำให้ 2 ทางเลือก
1. ใช้ตู้แบบ 1 พาร์ท ลูกย่อย 6,10 ช่อง (10 ช่องเผื่ออนาคตเพิ่มแอร์ หรืออื่นๆ)
แล้วใช้เป็นลูกย่อย RCBO ของชไนเดอร์ ใส่เฉพาะ เครื่องทำน้ำอุ่น ปลั๊กชั้นล่าง ปลั๊กในห้องน้ำ ปลั๊กใกล้อ่างล้างมือ,ล้างจาน(ซิ้งค์) ปั๊มน้ำ
ตัว RCBO ลูกย่อย ราคาตัวละ 1,200 +-ไม่เกิน 200 บาท ประมาณนี้มั้ง
แบบที่ 1 นี้ ถ้าวงจรไหนมีไฟรั่ว,ไฟดูด จะดับเฉพาะวงจรนั้น ไม่ดับทั้งบ้าน แต่ค่าใช้จ่ายสูงที่สุด
2. ใช้ตู้แบบ 2 พาร์ท แนะนำ 8+4 ช่อง (8 คือ CB ธรรมดา และ 4 คือ ผ่าน RCBO)
วงจรที่เอามาผ่าน RCBO ก็เหมือนแบบที่ 1 คือ พวกเครื่องทำน้ำอุ่น ปลั๊ก.....
แบบที่ 2 นี้ ถ้าวงจรไหนมีไฟรั่ว,ไฟดูด จะดับเฉพาะ 4 ลูกย่อยที่ผ่าน RCBO แต่ 8 ลูกย่อย ไม่ดับ และแบบที่ 2 นี้ น่าจะถูกกว่าแบบ 1
วงจรที่ไม่จำเป็นต้องต่อผ่านเครื่องตัดไฟรั่ว ได้แก่ แสงสว่าง เครื่องปรับอากาศ (เพราะเราดับไฟทำงานอยู่แล้ว)
ยกเว้น ช่างแอร์ เค้าอาจจะต้องเปิดไฟทำแอร์ เพื่อเช็คอะไรต่างๆ
เครื่องทำน้ำอุ่น 3,500 W เมื่อเปิด Max กินกระแสประมาณ 16 A ใช้สาย 2.5/G 2.5 พิกัดเบรกเกอร์ 16-20 A
เครื่องทำน้ำอุ่น 4,500 W เมื่อเปิด Max กินกระแสประมาณ 20 A ใช้สาย 4/G 2.5 พิกัดเบรกเกอร์ 20-25 A
คิดว่าเปิด Max มั้ยล่ะ ถ้าเปิด Max ก็ใช้ตัวหลัง (20,25 A) แต่ถ้าเปิด ไม่ถึง 80% ก็ใช้ตัวหน้า (16,20 A)
ไม่แนะนำให้ใช้เมน RCBO คุมทั้งบ้าน เพราะถ้ามีไฟรั่วที มันดับทั้งบ้าน หาจุดที่ไฟรั่วยากอีก (Safe-T Cut จึงตัดไปได้เลย)
ของ ชไนเดอร์ ก็โอเคครับ ผมแนะนำให้ 2 ทางเลือก
1. ใช้ตู้แบบ 1 พาร์ท ลูกย่อย 6,10 ช่อง (10 ช่องเผื่ออนาคตเพิ่มแอร์ หรืออื่นๆ)
แล้วใช้เป็นลูกย่อย RCBO ของชไนเดอร์ ใส่เฉพาะ เครื่องทำน้ำอุ่น ปลั๊กชั้นล่าง ปลั๊กในห้องน้ำ ปลั๊กใกล้อ่างล้างมือ,ล้างจาน(ซิ้งค์) ปั๊มน้ำ
ตัว RCBO ลูกย่อย ราคาตัวละ 1,200 +-ไม่เกิน 200 บาท ประมาณนี้มั้ง
แบบที่ 1 นี้ ถ้าวงจรไหนมีไฟรั่ว,ไฟดูด จะดับเฉพาะวงจรนั้น ไม่ดับทั้งบ้าน แต่ค่าใช้จ่ายสูงที่สุด
2. ใช้ตู้แบบ 2 พาร์ท แนะนำ 8+4 ช่อง (8 คือ CB ธรรมดา และ 4 คือ ผ่าน RCBO)
วงจรที่เอามาผ่าน RCBO ก็เหมือนแบบที่ 1 คือ พวกเครื่องทำน้ำอุ่น ปลั๊ก.....
แบบที่ 2 นี้ ถ้าวงจรไหนมีไฟรั่ว,ไฟดูด จะดับเฉพาะ 4 ลูกย่อยที่ผ่าน RCBO แต่ 8 ลูกย่อย ไม่ดับ และแบบที่ 2 นี้ น่าจะถูกกว่าแบบ 1
วงจรที่ไม่จำเป็นต้องต่อผ่านเครื่องตัดไฟรั่ว ได้แก่ แสงสว่าง เครื่องปรับอากาศ (เพราะเราดับไฟทำงานอยู่แล้ว)
ยกเว้น ช่างแอร์ เค้าอาจจะต้องเปิดไฟทำแอร์ เพื่อเช็คอะไรต่างๆ
เครื่องทำน้ำอุ่น 3,500 W เมื่อเปิด Max กินกระแสประมาณ 16 A ใช้สาย 2.5/G 2.5 พิกัดเบรกเกอร์ 16-20 A
เครื่องทำน้ำอุ่น 4,500 W เมื่อเปิด Max กินกระแสประมาณ 20 A ใช้สาย 4/G 2.5 พิกัดเบรกเกอร์ 20-25 A
คิดว่าเปิด Max มั้ยล่ะ ถ้าเปิด Max ก็ใช้ตัวหลัง (20,25 A) แต่ถ้าเปิด ไม่ถึง 80% ก็ใช้ตัวหน้า (16,20 A)
แสดงความคิดเห็น
เลือกตู้ Consumer Unit Schneider หรือ Saft-t-cut หรือ ยี่ห้อไหนดีครับ
แต่ผมลองหาข้อมูลคร่าวๆแล้วยี่ห้อนี่ไม่ค่อย ได้รับความนิยมใช่ไหมครับ?
คำถามคือ ใน BOQ ระบุ 4000 บาท
ถ้าผมเปลี่ยนเป็น Schneider ราคามันจะไหวไหมครับ และควรใช้แบบไหนดีตามเงื่อนไขแบบนี้
ต้องใช้ลูกย่อยทั้งหมด 6 ตัว
1. ใช้เมนเบรกเกอร์และลูกย่อยทั้งหมดแบบมี RCOB --> แบบนี้มันจะเกิดความจำเป็นไปหรือไม่ครับ
2. ใช้เฉพาะเมนเบรกเกอร์แบบมี RCOB --> เบื่อที่มันจะตัดทั้งบ้านหากมีไฟรั่ว
บ้านชั้นเดียวครับ
เครื่องทำน้ำอุ่นเช่นกัน ช่างไฟฟ้า จะแยกเบรกเกอร์ไปไว้ให้ตามหน้าห้องน้ำที่มีเครื่องทำน้ำอุ่น
- เครื่องทำน้ำอุ่นใช้ เบรกเกอร์ 30A หรือ 20A ครับ
- จำเป็นต้องใช้เบรกเกอร์ที่มี RCOB ด้วยไหมครับ ในเมื่อเครื่องทำน้ำอุ่นเหมือนมันมีอยู่แล้ว
ขอบคุณมากครับ