โอมูอามูอา (ʻOumuamua; ชื่ออย่างเป็นทางการ
1I/2017 U1) เป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์วัตถุแรกที่ทราบที่ผ่านเข้าระบบสุริยะ
รอเบิร์ต เวริก (Robert Weryk) ค้นพบบนแนววิถีไฮเปอร์บอลิกที่เยื้องศูนย์กลางมากเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 หลังผ่านจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 40 วัน มีการสังเกตครั้งแรกโดยกล้องโทรทรรศน์
แพนสตาส์ (Pan-STARRS) มลรัฐฮาวาย เมื่อวัตถุมีระยะห่างจากโลกประมาณ 85 เท่าของระยะทางโลก–ดวงจันทร์ โดยมุ่งออกจากดวงอาทิตย์ ด้วยความเร็ว 158,360 km/h
เดิมคาดว่าเป็นดาวหาง แต่หนึ่งสัปดาห์ถัดมามีการจำแนกใหม่เป็น
ดาวเคราะห์น้อย ซึ่งขณะนั้นเป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์กลุ่มใหม่วัตถุแรก เนื่องจากแนว
วิถีไฮเปอร์บอลิกมากของมัน
สุดท้ายมันจะออกจากระบบสุริยะและกลับสู่อวกาศระหว่างดาวฤกษ์อีกครั้ง
การโคจรแบบไฮเปอร์บอลิก (Hyperbolic path)
โอมูอามูอาเป็นวัตถุขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 800 × 100 ฟุต มีสีดำออกแดง คล้ายวัตถุในระบบสุริยะชั้นนอก โดยในการโคจรไม่ส่งผลกระทบต่อโลกแต่อย่างใด
ที่มาข้อมูล :
https://www.space.com/38798-first-interstellar-object-name-oumuamua.html
“Oumuamua” วัตถุนอกระบบสุริยะจักรวาลชิ้นแรกที่เดินทางมาให้ศึกษา
โอมูอามูอา (ʻOumuamua; ชื่ออย่างเป็นทางการ 1I/2017 U1) เป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์วัตถุแรกที่ทราบที่ผ่านเข้าระบบสุริยะ รอเบิร์ต เวริก (Robert Weryk) ค้นพบบนแนววิถีไฮเปอร์บอลิกที่เยื้องศูนย์กลางมากเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 หลังผ่านจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 40 วัน มีการสังเกตครั้งแรกโดยกล้องโทรทรรศน์ แพนสตาส์ (Pan-STARRS) มลรัฐฮาวาย เมื่อวัตถุมีระยะห่างจากโลกประมาณ 85 เท่าของระยะทางโลก–ดวงจันทร์ โดยมุ่งออกจากดวงอาทิตย์ ด้วยความเร็ว 158,360 km/h
เดิมคาดว่าเป็นดาวหาง แต่หนึ่งสัปดาห์ถัดมามีการจำแนกใหม่เป็นดาวเคราะห์น้อย ซึ่งขณะนั้นเป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์กลุ่มใหม่วัตถุแรก เนื่องจากแนววิถีไฮเปอร์บอลิกมากของมัน
สุดท้ายมันจะออกจากระบบสุริยะและกลับสู่อวกาศระหว่างดาวฤกษ์อีกครั้ง
การโคจรแบบไฮเปอร์บอลิก (Hyperbolic path)
โอมูอามูอาเป็นวัตถุขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 800 × 100 ฟุต มีสีดำออกแดง คล้ายวัตถุในระบบสุริยะชั้นนอก โดยในการโคจรไม่ส่งผลกระทบต่อโลกแต่อย่างใด
ที่มาข้อมูล : https://www.space.com/38798-first-interstellar-object-name-oumuamua.html