สังเกตจากตัวเองเมื่อไปวิ่งตอนเช้าๆเป็นประจำโดยการวิ่งต่อเนื่องประมาณ 40 นาทีและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆถึง 50 นาที และเพิ่มความเร็วขึ้นอีก ทำเป็นประจำประมาณ 3 สัปดาห์
พบว่าคิดอะไรต่างๆเร็วขึ้น มีความมั่นใจ และไม่รู้คิดไปเองรึเปล่าเหมือนฉลาดขึ้น แต่ก็เห็นได้จากผลงานต่างๆในหน้าที่การงานที่ตัวเองทำเมื่อเทียบกับตอนไม่ได้วิ่ง
จากเว็บ VOA ที่ผมอ่านเมื่อเช้านี้ ปกติไม่ค่อยเก่งภาษาอังกฤษ แต่พอดีเมื่อเช้าไปวิ่งมาดันอ่านพอรู้เรื่องอีกแหนะ 555
The report said, “After the glycogen is used up, your body starts burning fats, which are converted into chemicals used by neurons as energy. These chemicals are important to learning, memory and overall brain health.”
However, if you eat three meals a day, with snacks in between, your body does not have time to use up all of the glycogen in the liver. So, the learning and memory chemicals are not produced.
Mattson said that physical exercise can also use up the glycogens. He added that it was not surprising that “exercise has been shown to have the same positive effect on the brain as fasting.”
สรุปพอจับใจความได้ว่า ร่างกายเมื่อสลายไกโคเจนจากตับจนหมดจะมีปฏิกริยาเคมีเกิดขึ้น ซึ่งจะมีผลต่อสมองในแง่ดี
การที่จะได้ช่วงเวลาที่เกิดปฏิกริยาเคมีนี้ขึ้นมา จำเป็นต้องทำให้ไกโคเจหมดไปจากตับ
ก็จะมีวิธีไหนดีไปกว่าการวิ่งตอนเช้าๆก่อนกินอาหาร กับการอดอาหาร(fasting) หละครับจริงมั้ย
ปล. ผมพบว่า การวิ่งตอนเย็นเป็นประจำไม่ค่อยรู้สึกว่าสมองดีขึ้น อาจเป็นเพราะว่าผมกินอาหารมาตลอดทั้งวัน และบางทีกินก่อนวิ่งตอนเย็น
แต่ตอนเช้าผมตื่นมาไม่ได้กินอะไรแล้ววิ่งเลย ผลจึงอาจต่างกัน
ขอบคุณครับที่อ่าน
การวิ่งออกกำลังกายมีผลต่อสมองจริงรึเปล่า?
พบว่าคิดอะไรต่างๆเร็วขึ้น มีความมั่นใจ และไม่รู้คิดไปเองรึเปล่าเหมือนฉลาดขึ้น แต่ก็เห็นได้จากผลงานต่างๆในหน้าที่การงานที่ตัวเองทำเมื่อเทียบกับตอนไม่ได้วิ่ง
จากเว็บ VOA ที่ผมอ่านเมื่อเช้านี้ ปกติไม่ค่อยเก่งภาษาอังกฤษ แต่พอดีเมื่อเช้าไปวิ่งมาดันอ่านพอรู้เรื่องอีกแหนะ 555
The report said, “After the glycogen is used up, your body starts burning fats, which are converted into chemicals used by neurons as energy. These chemicals are important to learning, memory and overall brain health.”
However, if you eat three meals a day, with snacks in between, your body does not have time to use up all of the glycogen in the liver. So, the learning and memory chemicals are not produced.
Mattson said that physical exercise can also use up the glycogens. He added that it was not surprising that “exercise has been shown to have the same positive effect on the brain as fasting.”
สรุปพอจับใจความได้ว่า ร่างกายเมื่อสลายไกโคเจนจากตับจนหมดจะมีปฏิกริยาเคมีเกิดขึ้น ซึ่งจะมีผลต่อสมองในแง่ดี
การที่จะได้ช่วงเวลาที่เกิดปฏิกริยาเคมีนี้ขึ้นมา จำเป็นต้องทำให้ไกโคเจหมดไปจากตับ
ก็จะมีวิธีไหนดีไปกว่าการวิ่งตอนเช้าๆก่อนกินอาหาร กับการอดอาหาร(fasting) หละครับจริงมั้ย
ปล. ผมพบว่า การวิ่งตอนเย็นเป็นประจำไม่ค่อยรู้สึกว่าสมองดีขึ้น อาจเป็นเพราะว่าผมกินอาหารมาตลอดทั้งวัน และบางทีกินก่อนวิ่งตอนเย็น
แต่ตอนเช้าผมตื่นมาไม่ได้กินอะไรแล้ววิ่งเลย ผลจึงอาจต่างกัน
ขอบคุณครับที่อ่าน