หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
ประวัติความเป็นมาของ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
กระทู้สนทนา
ประวัติศาสตร์
อนุสาวรีย์ทหารอาสา
วันทหารผ่านศึก
ความสำคัญของอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ นอกจากเป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญและเป็นที่จารึกรายนามทหารที่เสียชีวิตใน กรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส (สงครามอินโดจีน) สงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเกาหลีแล้ว
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิสร้างขึ้นเพื่อเทิดทูนวีรกรรมของทหาร ตำรวจ และพลเรือนที่เสียชีวิตไปในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสเรื่องการปรับปรุงพรมแดนไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งในครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิต 59 คน ทั้งทหาร ตำรวจ และพลเรือน พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2484 และจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2485
สถาปนิกผู้ออกแบบอนุสาวรีย์คือ หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล และ กรมศิลปากร พร้อมศาสตรจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นผู้ควบคุมรูปปั้นหล่อประติมากรรมบุคคลทั้งห้า 5 เหล่าและควบคุมการสร้างอนุสาวรีย์
ประติมากรรมทหาร 5 เหล่า หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ใช้ดาบปลายปืน ซึ่งเป็นอาวุธประจำกายทหาร โดยใช้ดาบปลายปืนห้าเล่มรวมกัน จัดตั้งเป็นกลีบแบบลูกมะเฟือง ปลายดาบชี้ขึ้นบน ส่วนคมของดาบหันออก ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กประดับหินอ่อน มีความสูงประมาณ 50 เมตร ดาบปลายปืนส่วนด้ามตั้งเหนือเพดานห้องโถงใหญ่ ซึ่งใช้เก็บกระสุนปืนใหญ่บรรจุอัฐิทหารที่เสียชีวิตในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสด้านนอกตอนโคนดาบปลายปืน มีรูปปั้นหล่อทองแดง ขนาดสองเท่าคนธรรมดา ของนักรบ 5 เหล่า คือ ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ และพลเรือน ศิลปินผู้ปั้นรูปเหล่านี้เป็นลูกศิษย์ของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เช่น สิทธิเดช แสงหิรัญ, อนุจิตร แสงเดือน, พิมาน มูลประสุข, แช่ม ขาวมีชื่อ ภายใต้การควบคุมของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีด้านนอกของผนังห้องโถง เป็นแผ่นทองแดงจารึกนามผู้เสียชีวิต รายนามผู้ที่ได้รับการจารึกไว้มีทั้งสิ้น 160 นาย เป็นทหารบก 94 นาย ทหารเรือ 41 นาย ทหารอากาศ 13 นาย และตำรวจสนาม 12 นาย จนถึงปัจจุบันแผ่นทองแดงจารึกรายนามผู้เสียชีวิต และผู้สละชีพเพื่อชาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2483-พ.ศ. 2497 รวมทั้งสิ้น 801 นายความสำคัญอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิยามค่ำคืนาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2483-พ.ศ. 2497 รวมทั้งสิ้น 801 นาย
#อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ #ทหารผ่านศึก #สงครามโลกครั้งที่2 #ร้อยดวงใจเสียสละเพื่อผู้เสียสละ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
บันทึกประจำวัน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1พค2560 แค่เดินผ่าน ก็ทำให้เราเข้าใจถึงอดีต
วันว่างๆ เดินเที่ยวในเมือง อนุสาวรีชัยนี้หละครับ คนเยอะ วิวสวย มีอะไรให้ถ่ายรูปเยอะมากมาย หลังจากถ่ายรูป และกลับมาบ้าน มานั่งดูรูปทีละรูป มันทำให้เราเกิดข้อสงสัยต่างๆนานา ว่า อนุสาวรียือันนี้ สร้างขึ้
JFULLMOON
คนสมัยก่อนไม่มีแว่น เขาแก้ปัญหาทางสายตายังไงครับ
นึกสงสัย ก่อนที่แว่นจะเป็นที่แพร่หลาย คนสมัยก่อนเขาไม่ค่อยมีปัญหาทางสายตากันเหรอครับ สั้น ยาว แล้วคนที่เขามีปัญหาหนักเขาใช้ชีวิตยังไงกันครับ
สมาชิกหมายเลข 3830765
คนเวียดนามยุคนี้ยังโกรธคนไทยอยู่ไหมครับ
จากเหตุการ์สงครามเวียดนาม และจากสมรภูมิเดียวกัน คนลาวยังโกรธคนไทยไหม จากที่เป็นฐานปล่อยเครื่องบินทิ้งระเบิด
สมาชิกหมายเลข 4460885
13 อันดับ ล้านตลับของ 8 ศิลปินหญิงแกรมมี่
การที่นักร้องจะมียอดขายถึงล้านตลับนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเลย โดยเฉพาะกับนักร้องหญิง วงการเพลงไทยจึงมีนักร้องหญิงเพียงไม่กี่คนที่สามารถทำได้ และ "15" คือจำนวนอัลบั้มล้านตลับทั้งหมดของนักร้องหญิง
มงแซะ
นักร้องที่ขายเทปได้เกินล้านตลับมีใครบ้าง พอจำได้ไม๊คะ
อาจจะนานไปหน่อยนะ:)
คุณน่านจ้า
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ไปแฟลตเคหะบางพลี เดินทางอย่างไร
ตามหัวกระทู้เลยค่ะ พอดีสิ้นเดือนนี้จะไปหาพี่สาวที่เคหะบางพลีครั้งแรกแต่จุดที่หนูสะดวกหารถคืออนุสาวรีย์ เลยไม่รู้ว่าพอจะมีรถอะไรที่สามารถไปถึงนู้นได้บ้างคะ ถ้าเหมาแท็กซี่กับแกร็ปไปค่ารถค่อนข้างสูง อยาก
สมาชิกหมายเลข 8066728
🌻🌻รีวิว... ก๋วยเตี๋ยวเรืออนุสาวรีชัย... ร้านไหนอร่อย ?? 🌻🌻
ไม่ได้กินก๋วยเตี๋ยวเรืออนุสาวรีชัยนานมาก ประมาณ 10-15 ปีแล้วมั้ง วันนี้มีโอกาสไปทำธุระแถวๆ นั้น นึกขึ้นได้เลยลองชิมก๋วยเตี๋ยวเรืออนุสาวรีย์ชัยดูสักหน่อย ไหนๆ นานๆ มาที ชิมมันทั้งสามร้านเลย ทั้
สมาชิกหมายเลข 6477408
++ (สอบถามเส้นทาง) อยู่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ถ้าจะใช้ MRT สายสีม่วง จะไปใช้เส้นทางไหน ประหยัดสุด
คือต้องการจะไปลงที่สถานีวงศ์สว่าง (MRT สายสีม่วง) ถ้าจะขึ้นบีทีเอสแล้วไปต่อ MRT ควรจะเลือกเส้นทางไหนดี
kasimasi
เดินทางจาก อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ไป ลงแถว BTS คูคต
ต้องไปทำงาน อยู่ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ จะไปลงที่ BTS คูคตค่ะ ถ้าซื้อเหมารอบของ BTS จะประหยัดไหม มีส่วนต่างอเะไรเพิ่มรึป่าว ไม่รู้ข้อกำหนดของการเหมารอบเป็นยังไง หรือถ้านั่งรถโดยสารจะต้องนั่งสายอะไ
สมาชิกหมายเลข 4332597
ขสมก. ทดลองวิ่งรถฟรี อนุสาวรีย์ชัย-ขนส่ง 3 สถานี อำนวยความสะดวก ใช้รถตู้
ขสมก.ทดลองวิ่งรถฟรี อนุสาวรีย์ชัย-ขนส่ง 3 สถานี อำนวยความสะดวกใช้รถตู้ ขสมก.จัดรถโดยสารทดลองวิ่งเชื่อมต่อระหว่างอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ กับ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ 3 สถานี อำนวยความสะดวกคนใช้บริการร
หนุ่มเมืองใต้
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์
อนุสาวรีย์ทหารอาสา
วันทหารผ่านศึก
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ : 16
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
ประวัติความเป็นมาของ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิสร้างขึ้นเพื่อเทิดทูนวีรกรรมของทหาร ตำรวจ และพลเรือนที่เสียชีวิตไปในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสเรื่องการปรับปรุงพรมแดนไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งในครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิต 59 คน ทั้งทหาร ตำรวจ และพลเรือน พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2484 และจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2485
สถาปนิกผู้ออกแบบอนุสาวรีย์คือ หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล และ กรมศิลปากร พร้อมศาสตรจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นผู้ควบคุมรูปปั้นหล่อประติมากรรมบุคคลทั้งห้า 5 เหล่าและควบคุมการสร้างอนุสาวรีย์
ประติมากรรมทหาร 5 เหล่า หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ใช้ดาบปลายปืน ซึ่งเป็นอาวุธประจำกายทหาร โดยใช้ดาบปลายปืนห้าเล่มรวมกัน จัดตั้งเป็นกลีบแบบลูกมะเฟือง ปลายดาบชี้ขึ้นบน ส่วนคมของดาบหันออก ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กประดับหินอ่อน มีความสูงประมาณ 50 เมตร ดาบปลายปืนส่วนด้ามตั้งเหนือเพดานห้องโถงใหญ่ ซึ่งใช้เก็บกระสุนปืนใหญ่บรรจุอัฐิทหารที่เสียชีวิตในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสด้านนอกตอนโคนดาบปลายปืน มีรูปปั้นหล่อทองแดง ขนาดสองเท่าคนธรรมดา ของนักรบ 5 เหล่า คือ ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ และพลเรือน ศิลปินผู้ปั้นรูปเหล่านี้เป็นลูกศิษย์ของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เช่น สิทธิเดช แสงหิรัญ, อนุจิตร แสงเดือน, พิมาน มูลประสุข, แช่ม ขาวมีชื่อ ภายใต้การควบคุมของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีด้านนอกของผนังห้องโถง เป็นแผ่นทองแดงจารึกนามผู้เสียชีวิต รายนามผู้ที่ได้รับการจารึกไว้มีทั้งสิ้น 160 นาย เป็นทหารบก 94 นาย ทหารเรือ 41 นาย ทหารอากาศ 13 นาย และตำรวจสนาม 12 นาย จนถึงปัจจุบันแผ่นทองแดงจารึกรายนามผู้เสียชีวิต และผู้สละชีพเพื่อชาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2483-พ.ศ. 2497 รวมทั้งสิ้น 801 นายความสำคัญอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิยามค่ำคืนาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2483-พ.ศ. 2497 รวมทั้งสิ้น 801 นาย
#อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ #ทหารผ่านศึก #สงครามโลกครั้งที่2 #ร้อยดวงใจเสียสละเพื่อผู้เสียสละ