หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
สงสัยคลิปเปรียบเทียบขนาดส่งต่าง ๆ ตั้งแต่อนุภาคเล็ก ๆ ไปจนถึงขอบจักรวาล ว่า
กระทู้คำถาม
ฟิสิกส์
ดาราศาสตร์
จักรวาล (Universe)
อวกาศ
วิทยาศาสตร์
จักรวาลที่สังเกตุเห็นได้มีขนาด 93,000 ล้านปีแสง หรือรัศมี = 46,500 ล้านปีแสง
เท่าที่ทราบตามหลักฐานการศึกษารังสีที่หลงเหลือจากบิ๊กแบง บิ๊กแบงเกิดเมื่อ 16,000 ล้านปีก่อน แล้วรัศมีจักรวาลจะเป็น 46,500 ปีแสงได้อย่างไร ? ไม่มีอะไรเร็วไปกว่าแสงนี่นา
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
กาแลคซี่ที่ปลายรัศมี 13,500ล้านปีแสง จะส่องไม่เห็นอีก ถ้าไม่มีกล้องที่ส่องได้ไกลกว่าฮับเบิล ใช่ไหม?
จักรวาล ที่รู้แน่ๆ ตอนนี้คือ ทรงกลมรัศมี 13,500ล้านปีแสง โดยอิงโลกเป็นศูนย์กลาง การตรวจหาเรดชิฟ และ การขยายตัวของอวกาศที่มีความเร่ง แถมความเร็วมากกว่าแสงอีก -แสดงว่า ถ้าไม่พัฒนากล้องที่ส่องได้ไกลกว่
สมาชิกหมายเลข 2341624
ทฤษฎีความเร็วแสง
เป็นไปได้ไหมครับ ถ้าเราสามารถมีกล้องส่องได้ไกลเป็นพันล้านล้านปีแสง จะสามารถเห็นการกำเนิดของจักรวาลเหมือน เหมือนทฤษฎีบิ๊กแบงค์ได้ ขอบคุณครับ
saranpat
วิทยาศาสตร์ของ คลื่นแรงโน้มถ่วงพื้นหลังของจักรวาล
เพราะ ความโน้มถ่วงไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นและหายไปได้ในทันทีทันใด มันมีความเร็วเท่ากับแสง สิ่งนี้พิสูจน์วัดเป็นประจักษ์แล้วด้วยเครื่องวัดคลื่นความโน้มถ่วง LIGO ประกอบกับที่จักรวา
Darth Prin
มาดูภาพจำลองกันถ้าหากกาแล็คซี่ทางช้างเผืกและกาแล็คซี่แอนโดนเมดาเดินทางมาพุ่งชนกัน?
นี่คือภาพจำลองท้องฟ้ายามค่ำคืนบนโลก ในอีกประมาณ 3,750 ล้านปีจากนี้ เมื่อกาแล็กซีทางช้างเผือก และกาแล็กซีแอนโดรเมดา เดินทางมาพุ่งชนกัน แม้แอนโดรเมดากำลังเคลื่อนตัวเข้าหาทางช้างเผือกด้วยความเร็วมากกว่า
สมาชิกหมายเลข 8400221
นักดาราศาสตร์วัดแสงดาวทั้งหมดที่เคยมีมาตั้งแต่กำเนิดจักรวาล
NASA / ESA / HUBBLE ดาราจักร NGC 1569 ซึ่งอยู่ห่างจากโลก 11 ล้านปีแสง ให้กำเนิดดาวฤกษ์ที่ส่องแสงสุกสว่างจำนวนมหาศาล ทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฟอร์มี (Fermi)ขององค์การนาซา ตรวจว
สมาชิกหมายเลข 3509549
🎄🎄Christmas tree cluster NASA เผยภาพ ต้นคริสต์มาส จากอวกาศ NGC 2264 ที่มีอายุประมาณ1-5ล้านปี🎄🎄
🎄🎄🎄🎄🎄🎄🎄🎄🎄🎄🎄🎄 กล้องโทรทรรศน์ของ NASA นำเสนอภาพอวกาศในจินตนาการใหม่ที่มีสัญลักษณ์วันหยุดคริสต์มาส กระจุกดาวต้นคริสต์มาสหรือ NGC 2264 ถูกสร้างขึ้นโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมโดยช่างภาพดาราศา
สมาชิกหมายเลข 6803172
สอบถามเกี่ยวกับแนวคิดเรื่อง "กาแล็กซีไฟคริสต์มาส" ชี้ถึงร่องรอยการก่อตัวของเอกภพครับ
จากลิงค์ข่าวนี้ https://www.bbc.com/thai/articles/czen1yx2ggpo ถ้าหากสมมุติฐานของนักวิทยาศาสตร์ตามเนื้อข่าวนี้เป็นจริง จากสองย่อหน้านี้ ก่อนหน้าการค้นพบกาแล็กซีประกายแสงหิ่งห้อย ดร.โมวลาบอกว่า เธอไม
นายซอมซ่อ
สงสัยแสงเหตุการณ์ จักวาล
ขอถามหน่อย ถ้าหากเรารู้ว่าขอบจักรวาลอยู่ตรงไหนแล้วถ้ามนุษย์เดินทาง1ปีแสงต่อ1วิ ต้องใช้เวลาถึง สี่หมื่นหกพันห้าร้อยล้านปีแสงถึงจะไปถึงขอบจักวาลใช่ไหมแล้วถ้า แสงเดินทางจากดวงอาทิตย์8นาทีกว่าจะมาถึงโลกแส
สมาชิกหมายเลข 7502096
สงสังเกี่ยวกับแสงเหตุ กับจักวาล
ขอถามหน่อย ถ้าหากเรารู้ว่าขอบจักรวาลอยู่ตรงไหนแล้วถ้ามนุษย์เดินทาง1ปีแสงต่อ1วิ ต้องใช้เวลาถึง สี่หมื่นหกพันห้าร้อยล้านปีแสงถึงจะไปถึงขอบจักวาลใช่ไหมแล้วถ้า แสงเดินทางจากดวงอาทิตย์8นาทีกว่าจะมาถึงโลกแส
สมาชิกหมายเลข 7502096
ภาวะโลกเรือนกระจกภาคทฤษฏี
เมื่อหลายขวบปีที่แล้ว ผมเคยเขียนบทความเรื่องภาวะโลกร้อนภาคทฤษฏีลงให้หว้ากอ แต่สมัยนั้น ห้องหว้ากอยังมีกระทู้หมดอายุ ปริมาณข้อมูลที่เก็บได้ยังจำกัดไม่เหมือนทุกวันนี้ แหล่งเซฟกระทู้สำรองปัจจุบันก็หายไปแ
Darth Prin
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ฟิสิกส์
ดาราศาสตร์
จักรวาล (Universe)
อวกาศ
วิทยาศาสตร์
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
สงสัยคลิปเปรียบเทียบขนาดส่งต่าง ๆ ตั้งแต่อนุภาคเล็ก ๆ ไปจนถึงขอบจักรวาล ว่า
เท่าที่ทราบตามหลักฐานการศึกษารังสีที่หลงเหลือจากบิ๊กแบง บิ๊กแบงเกิดเมื่อ 16,000 ล้านปีก่อน แล้วรัศมีจักรวาลจะเป็น 46,500 ปีแสงได้อย่างไร ? ไม่มีอะไรเร็วไปกว่าแสงนี่นา