วันนี้จะมานำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการคมนาคมทางรางสำหรับคนเมือง นั่นก็คือ รถไฟฟ้า ซึ่งเป็นหนึ่งในการขนส่งสาธารณะที่สะดวกและกะเกณฑ์เวลาได้
และปฎิเสธไม่ได้ว่าการมาของรถไฟฟ้านั้น ได้นำการเปลี่ยนแปลงมาสู่บริเวณโดยรอบ
โดยในกระทู้นี้จะนำเสนอเฉพาะรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit) และรถไฟฟ้าชานเมือง (Commuter rail) ที่ให้บริการและกำลังก่อสร้างอยู่เท่านั้น
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซียถือเป็นผู้นำด้านการพัฒนาระบบรางแบบไฟฟ้าในอาเซียน และมีโครงข่ายรถไฟฟ้าที่ครอบคลุมเส้นทางรถไฟหลัก
แต่ในปัจจุบันทางการมาเลเซียชะลอแผนพัฒนารถไฟฟ้าไปอย่างไม่มีกำหนดในหลายๆเส้นทางที่อยู่ในแผนงาน เนื่องจากหนี้สาธารณะของประเทศที่สูงขึ้นและยังไม่อาจฟื้นตัวได้เต็มที่จากวิกฤติคลังและงบประมาณเมื่อปลายปี2559 - ปี2560 รวมถึงบางสายมีผู้ใช้บริการลดลง เช่น รถไฟฟ้าชานเมือง 2 สายหลัก ที่ผู้ใช้บริการลดลงถึง 10 เปอร์เซ็นต์
สถานีรถไฟกลางของมาเลเซีย คือ Kuala Lumpur Sentral
ระบบรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit)
มาเลเซียได้เริ่มเปิดให้บริการรถไฟฟ้าในเมืองกัวลาลัมเปอร์ตั้งแต่ปี 2539 ภายใต้ความพยายามในการพัฒนาระบบรางของมาเลเซีย ซึ่งโครงข่ายรถไฟฟ้าในเมืองของกัวลาลัมเปอร์นั้น เน้นการพัฒนาในรูปแบบรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) ซึ่งทำให้ประหยัดค่าก่อสร้างและก่อสร้างได้รวดเร็ว
รถไฟฟ้าในกัวลาลัมเปอร์ที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย LRT Ampang line
เส้นทาง Sentul Timur - Ampang
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 18 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2539
2.สาย LRT Sri Petaling line
เส้นทาง Sentul Timur - Putra Heights
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 45.1 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ กรกฎาคม 2541
3.สาย LRT Kelana Jaya line
เส้นทาง Gombak - Putra Heights
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 46.4 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ กันยายน 2541
4.สาย KL Monorail
เส้นทาง KL Sentral - Titiwangsa
รูปแบบ รถไฟฟ้าโมโนเรล
ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2546
5.สาย MRT Sungai Buloh–Kajang line
เส้นทาง Sungai Buloh - Kajang
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 51 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2559
โครงการรถไฟฟ้าในกัวลาลัมเปอร์ที่กำลังก่อสร้าง
1.สาย LRT Bandar Utama–Klang line
เส้นทาง Bandar Utama - Johan Setia
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 36 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2562
2.สาย MRT Sungai Buloh–Serdang–Putrajaya line
เส้นทาง Kwasa Damansara - Putrajaya Sentral
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 52.2 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ระยะแรก 2563 ระยะที่สอง 2564
รวมระยะทางทั้งโครงการทั้งสิ้น 239.3 กิโลเมตร แบ่งเป็น
รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) 127.5 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT) 103.2 กิโลเมตร
รถไฟฟ้าโมโนเรล 8.6 กิโลเมตร
ระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (Commuter rail)
รถไฟฟ้าชานเมืองที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย Seremban Komuter Line
เส้นทาง Batu Caves - Pulau Sebang/Tampin
รูปแบบ รถรางไฟฟ้า (EMU)
ระยะทาง 135 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2538
2.สาย Port Klang Line
เส้นทาง Tanjung Malim - Port Klang
รูปแบบ รถรางไฟฟ้า (EMU)
ระยะทาง 126 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2538
ประเทศสิงคโปร์
เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศขนาดเล็ก ระบบขนส่งทางรางนั้น จึงมีแต่เฉพาะระบบรถไฟฟ้าในเมือง ก็สามารถวางโครงข่ายทางรางได้ครอบคลุมแล้ว ในปัจจุบันสิงคโปร์มีรถไฟฟ้าแบบรางหนักเป็นหลัก และมีรถไฟฟ้ารางเบาเป็นส่วนเสริม และสิงคโปร์เองก็กำลังศึกษาเส้นทางใหม่เพื่อขยายการเชื่อมต่อมากขึ้นอีกด้วย
ระบบรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit)
รถไฟฟ้าในสิงคโปร์ที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย North South line
เส้นทาง Jurong East - Marina South Pier
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 45 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ พฤศจิกายน 2530
2.สาย East West line
เส้นทาง Pasir Ris - Tuas Link
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 57.2 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2530
3.สาย North East line
เส้นทาง HarbourFront - Punggol
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 20 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ มิถนายน 2546
4.สาย Circle line
เส้นทาง Dhoby Ghaut - Marina Bay
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 35.5 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ พฤษภาคม 2552
5.สาย Downtown line
เส้นทาง Bukit Panjang - Expo
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 41.9 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2556
6.สาย Bukit Panjang LRT
เส้นทาง Choa Chu Kang - Ten Mile Junction
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 7.8 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2542
7.สาย Sengkang LRT (วิ่งวนลูปซ้ายขวา เชื่อมต่อกับสถานี Sengkang)
เส้นทาง Sengkang (East Loop) - Sengkang (West Loop)
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 10.7 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2545
8.สาย Punggol LRT (วิ่งวนลูปซ้ายขวา เชื่อมต่อกับสถานี Punggol)
เส้นทาง Punggol (East Loop) - Punggol (West Loop)
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 10.3 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2547
โครงการรถไฟฟ้าในสิงคโปร์ที่กำลังก่อสร้าง
1.สาย Thomson-East Coast line
เส้นทาง Woodlands North - Sungei Bedok
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 43 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ระยะที่หนึ่ง 2562 - ระยะที่ห้า 2567
2.สาย Circle line (ส่วนต่อขยาย)
เส้นทาง Keppel - Prince Edward
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 4 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2568
3.สาย Downtown line (ส่วนต่อขยาย)
เส้นทาง Xilin - Sungei Bedok
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2567
รวมระยะทางทั้งโครงการทั้งสิ้น 277.6 กิโลเมตร แบ่งเป็น
รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) 28.8 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT) 248.8 กิโลเมตร
ประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับการสนับสนุนจากนานาชาติในการพัฒนาประเทศ ซึ่งทำให้ฟิลิปปินส์ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำการพัฒนาระบบรางในอาเซียน โดยฟิลิปปินส์เป็นประเทศแรกที่ให้บริการรถไฟฟ้าในอาเซียน แต่ด้วยปัญหาการเมืองและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ที่ตกต่ำลง ทำให้ฟิลิปปินส์ไม่สามารถพัฒนาระบบรางได้เพิ่มจากอดีต จนถึงปัจจุบันการพัมนาระบบรางในฟิลิปปินส์ยังเป็นไปอย่างล้าช้าและได้รับการสนใจจากรัฐบาลน้อยกว่าที่ควร
สถานีรถไฟกลางของฟิลิปปินส์ คือ Unified Grand Central Station (North Avenue Common station)
อยู่ในระหว่างก่อสร้าง เปิดให้บริการ 2562 (มีแผนเลื่อนกำหนดการเปิดเนื่องจากงานก่อสร้างไม่คืบหน้า)
ระบบรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit)
รถไฟฟ้าในมะนิลาที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย Manila Light Rail Transit System Line 1 (LRT1)
เส้นทาง North Avenue - Niog
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 19.65 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2527
2.สาย Manila Light Rail Transit System Line 2 (LRT2)
เส้นทาง Masinag - Pier 4
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 13.8 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ เมษายน 2548
3.สาย Manila Metro Rail Transit System (MRT3)
เส้นทาง North Avenue - Taft Avenue
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 16.9 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ เมษายน 2542
โครงการรถไฟฟ้าในมะนิลาที่กำลังก่อสร้าง
1.สาย Manila Metro Rail Transit System Line 7 (MRT-7)
เส้นทาง San Jose del Monte - North Avenue
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 22.8 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2563
2.สาย Manila Light Rail Transit System Line 2 (LRT2) ส่วนต่อขยาย
เส้นทาง Santolan - Masinag
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 3.9 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2562
รวมระยะทางทั้งโครงการทั้งสิ้น 77 กิโลเมตร แบ่งเป็น
รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) 36.5 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT) 40.5 กิโลเมตร
ระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (Commuter rail)
รถไฟฟ้าชานเมืองที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย Philippine National Railways Metro Commuter Line
เส้นทาง Tutuban - Calamba
รูปแบบ รถรางไฟฟ้า (EMU) และ รถดีเซลราง (DMU)
ระยะทาง 28 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2435 เพิ่มระบบไฟฟ้า 2553
รถไฟฟ้าในเขตเมืองของประเทศต่างๆในอาเซียนไปถึงไหนแล้ว มาดูกัน
และปฎิเสธไม่ได้ว่าการมาของรถไฟฟ้านั้น ได้นำการเปลี่ยนแปลงมาสู่บริเวณโดยรอบ
โดยในกระทู้นี้จะนำเสนอเฉพาะรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit) และรถไฟฟ้าชานเมือง (Commuter rail) ที่ให้บริการและกำลังก่อสร้างอยู่เท่านั้น
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซียถือเป็นผู้นำด้านการพัฒนาระบบรางแบบไฟฟ้าในอาเซียน และมีโครงข่ายรถไฟฟ้าที่ครอบคลุมเส้นทางรถไฟหลัก
แต่ในปัจจุบันทางการมาเลเซียชะลอแผนพัฒนารถไฟฟ้าไปอย่างไม่มีกำหนดในหลายๆเส้นทางที่อยู่ในแผนงาน เนื่องจากหนี้สาธารณะของประเทศที่สูงขึ้นและยังไม่อาจฟื้นตัวได้เต็มที่จากวิกฤติคลังและงบประมาณเมื่อปลายปี2559 - ปี2560 รวมถึงบางสายมีผู้ใช้บริการลดลง เช่น รถไฟฟ้าชานเมือง 2 สายหลัก ที่ผู้ใช้บริการลดลงถึง 10 เปอร์เซ็นต์
สถานีรถไฟกลางของมาเลเซีย คือ Kuala Lumpur Sentral
ระบบรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit)
มาเลเซียได้เริ่มเปิดให้บริการรถไฟฟ้าในเมืองกัวลาลัมเปอร์ตั้งแต่ปี 2539 ภายใต้ความพยายามในการพัฒนาระบบรางของมาเลเซีย ซึ่งโครงข่ายรถไฟฟ้าในเมืองของกัวลาลัมเปอร์นั้น เน้นการพัฒนาในรูปแบบรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) ซึ่งทำให้ประหยัดค่าก่อสร้างและก่อสร้างได้รวดเร็ว
รถไฟฟ้าในกัวลาลัมเปอร์ที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย LRT Ampang line
เส้นทาง Sentul Timur - Ampang
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 18 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2539
2.สาย LRT Sri Petaling line
เส้นทาง Sentul Timur - Putra Heights
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 45.1 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ กรกฎาคม 2541
3.สาย LRT Kelana Jaya line
เส้นทาง Gombak - Putra Heights
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 46.4 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ กันยายน 2541
4.สาย KL Monorail
เส้นทาง KL Sentral - Titiwangsa
รูปแบบ รถไฟฟ้าโมโนเรล
ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2546
5.สาย MRT Sungai Buloh–Kajang line
เส้นทาง Sungai Buloh - Kajang
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 51 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2559
โครงการรถไฟฟ้าในกัวลาลัมเปอร์ที่กำลังก่อสร้าง
1.สาย LRT Bandar Utama–Klang line
เส้นทาง Bandar Utama - Johan Setia
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 36 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2562
2.สาย MRT Sungai Buloh–Serdang–Putrajaya line
เส้นทาง Kwasa Damansara - Putrajaya Sentral
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 52.2 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ระยะแรก 2563 ระยะที่สอง 2564
รวมระยะทางทั้งโครงการทั้งสิ้น 239.3 กิโลเมตร แบ่งเป็น
รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) 127.5 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT) 103.2 กิโลเมตร
รถไฟฟ้าโมโนเรล 8.6 กิโลเมตร
ระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (Commuter rail)
รถไฟฟ้าชานเมืองที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย Seremban Komuter Line
เส้นทาง Batu Caves - Pulau Sebang/Tampin
รูปแบบ รถรางไฟฟ้า (EMU)
ระยะทาง 135 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2538
2.สาย Port Klang Line
เส้นทาง Tanjung Malim - Port Klang
รูปแบบ รถรางไฟฟ้า (EMU)
ระยะทาง 126 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ สิงหาคม 2538
ประเทศสิงคโปร์
เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศขนาดเล็ก ระบบขนส่งทางรางนั้น จึงมีแต่เฉพาะระบบรถไฟฟ้าในเมือง ก็สามารถวางโครงข่ายทางรางได้ครอบคลุมแล้ว ในปัจจุบันสิงคโปร์มีรถไฟฟ้าแบบรางหนักเป็นหลัก และมีรถไฟฟ้ารางเบาเป็นส่วนเสริม และสิงคโปร์เองก็กำลังศึกษาเส้นทางใหม่เพื่อขยายการเชื่อมต่อมากขึ้นอีกด้วย
ระบบรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit)
รถไฟฟ้าในสิงคโปร์ที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย North South line
เส้นทาง Jurong East - Marina South Pier
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 45 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ พฤศจิกายน 2530
2.สาย East West line
เส้นทาง Pasir Ris - Tuas Link
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 57.2 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2530
3.สาย North East line
เส้นทาง HarbourFront - Punggol
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 20 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ มิถนายน 2546
4.สาย Circle line
เส้นทาง Dhoby Ghaut - Marina Bay
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 35.5 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ พฤษภาคม 2552
5.สาย Downtown line
เส้นทาง Bukit Panjang - Expo
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 41.9 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2556
6.สาย Bukit Panjang LRT
เส้นทาง Choa Chu Kang - Ten Mile Junction
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 7.8 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2542
7.สาย Sengkang LRT (วิ่งวนลูปซ้ายขวา เชื่อมต่อกับสถานี Sengkang)
เส้นทาง Sengkang (East Loop) - Sengkang (West Loop)
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 10.7 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2545
8.สาย Punggol LRT (วิ่งวนลูปซ้ายขวา เชื่อมต่อกับสถานี Punggol)
เส้นทาง Punggol (East Loop) - Punggol (West Loop)
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 10.3 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2547
โครงการรถไฟฟ้าในสิงคโปร์ที่กำลังก่อสร้าง
1.สาย Thomson-East Coast line
เส้นทาง Woodlands North - Sungei Bedok
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 43 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ระยะที่หนึ่ง 2562 - ระยะที่ห้า 2567
2.สาย Circle line (ส่วนต่อขยาย)
เส้นทาง Keppel - Prince Edward
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 4 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2568
3.สาย Downtown line (ส่วนต่อขยาย)
เส้นทาง Xilin - Sungei Bedok
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2567
รวมระยะทางทั้งโครงการทั้งสิ้น 277.6 กิโลเมตร แบ่งเป็น
รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) 28.8 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT) 248.8 กิโลเมตร
ประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับการสนับสนุนจากนานาชาติในการพัฒนาประเทศ ซึ่งทำให้ฟิลิปปินส์ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำการพัฒนาระบบรางในอาเซียน โดยฟิลิปปินส์เป็นประเทศแรกที่ให้บริการรถไฟฟ้าในอาเซียน แต่ด้วยปัญหาการเมืองและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ที่ตกต่ำลง ทำให้ฟิลิปปินส์ไม่สามารถพัฒนาระบบรางได้เพิ่มจากอดีต จนถึงปัจจุบันการพัมนาระบบรางในฟิลิปปินส์ยังเป็นไปอย่างล้าช้าและได้รับการสนใจจากรัฐบาลน้อยกว่าที่ควร
สถานีรถไฟกลางของฟิลิปปินส์ คือ Unified Grand Central Station (North Avenue Common station)
อยู่ในระหว่างก่อสร้าง เปิดให้บริการ 2562 (มีแผนเลื่อนกำหนดการเปิดเนื่องจากงานก่อสร้างไม่คืบหน้า)
ระบบรถไฟฟ้าในเมือง (Rapid transit)
รถไฟฟ้าในมะนิลาที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย Manila Light Rail Transit System Line 1 (LRT1)
เส้นทาง North Avenue - Niog
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 19.65 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ ธันวาคม 2527
2.สาย Manila Light Rail Transit System Line 2 (LRT2)
เส้นทาง Masinag - Pier 4
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 13.8 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ เมษายน 2548
3.สาย Manila Metro Rail Transit System (MRT3)
เส้นทาง North Avenue - Taft Avenue
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)
ระยะทาง 16.9 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ เมษายน 2542
โครงการรถไฟฟ้าในมะนิลาที่กำลังก่อสร้าง
1.สาย Manila Metro Rail Transit System Line 7 (MRT-7)
เส้นทาง San Jose del Monte - North Avenue
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 22.8 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2563
2.สาย Manila Light Rail Transit System Line 2 (LRT2) ส่วนต่อขยาย
เส้นทาง Santolan - Masinag
รูปแบบ รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT)
ระยะทาง 3.9 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2562
รวมระยะทางทั้งโครงการทั้งสิ้น 77 กิโลเมตร แบ่งเป็น
รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) 36.5 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางหนัก (MRT) 40.5 กิโลเมตร
ระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (Commuter rail)
รถไฟฟ้าชานเมืองที่ให้บริการในปัจจุบัน
1.สาย Philippine National Railways Metro Commuter Line
เส้นทาง Tutuban - Calamba
รูปแบบ รถรางไฟฟ้า (EMU) และ รถดีเซลราง (DMU)
ระยะทาง 28 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2435 เพิ่มระบบไฟฟ้า 2553