สงสัยมานานแล้วครับว่าจริงหรือเปล่า
เพราะผมเองมีเพื่อนตอนสมัยมัธยมเรียนในคณะนี้หลายคน ล่าสุดเพื่อนผมคนหนึ่งได้เกียรตินิยมด้วย
แต่สิ่งที่เขาได้พูดให้ฟังก็คือว่าคนได้เกียรตินิยมมีเยอะ
บางคนเก่งจริงๆ แต่บางคนก็เหมือนมากับดวงคือระดับกลางๆแต่โชคดีตรงก็ตรงที่ว่าได้เรียนคลาสอาจารย์ที่ใจดีให้คะแนนง่ายในแทบทุกวิชา
เพราะเนื่องจากเด็กในคณะแต่ละรุ่นมีจำนวนค่อนข้างมาก ทำให้มีการแบ่งคลาสเรียนหลายๆคลาส
อาจารย์บางคนใจดี บางคนโหด บางคนก็กลางๆ
แบบนี้พอคะแนนออกมามันก็วัดอะไรไม่ได้น่ะสิ่ครับเพราะเรียนกับอาจารย์ไม่เหมือนกันและแต่ละคนมีเกณฑ์การให้คะแนนต่างกัน
ส่วนที่ผมติดใจที่สุดคือเพื่อนเล่าว่าจะมีอาจารย์บางท่านที่นำข้อสอบเก่าๆมาออกโดยที่ไม่ได้มีการแก้ไขโจทย์หรือเนื้อหาเพิ่มเลย สอนไม่รู้เรื่อง และเด็กก็ใช้วิธีจำข้อสอบที่มีขายไปเขียนในห้องสอบเพราะรู้กันอยู่แล้วว่าข้อสอบจะออกตามชีทที่วางขาย พอคะแนนสอบออกมาเลยได้คะแนนดีกัน จริงหรือเปล่าครับ
หรือบางคนที่ตกซ้ำในรายวิชาใดก็ไปแย่งที่ของรุ่นน้องที่จะต้องเรียนในเทอมนั้นๆ เช่น อยู่ปี3ตกวิชาของปี2 ก็ต้องมาจดทะเบียนเรียนในวิชาของปี2 แต่พอได้คลาสที่เป็นอาจารย์ที่ใจดี ก็ไม่เข้าเรียนไม่สนใจเรียน อย่างเพื่อนผมคนนึงที่ตกซ้ำในรายวิชานึงของปี3 มาที่มหาลัยผมบ่อยมากๆ โดยมันบอกว่าไม่ต้องไปเรียนก็ได้ อาจารย์ใจดียังไงก็ให้ผ่านพวกรหัสสูงๆเขาให้จบหมด ใครๆเขาก็ทำกันแบบนี้ไมา แบบนี้ที่ว่าคือไม่ต้องไปเข้าเรียน ซึ่งตัวผมเองไม่ใช่เด็กในสถาบันนี้เลยสงสัยว่า
1.คะแนนที่ได้ในแต่ละวิชาจริงๆก็ไม่สามารถวัดอะไรได้สิครับ เพราะว่านักศึกษาบางคนไม่ได้เรียนกับอาจารย์ผู้สอนท่านเดียวกัน
2.การที่ให้โอกาสหรือให้สิทธิแก่นักศึกษาปีสูงในการเลือกคลาสเรียน (ได้ยินมาว่าใช้ระบบโควตา) ถ้าคลาสไหนปีสูงลงกันมากก็จะไปตัดโอกาสรุ่นน้องที่ต้องการลงในคลาสนั้นๆ ซึ่งผมว่ามันดูไม่แฟร์เก็บน้องๆที่ต้องการลงเรียนคลาสที่ตัวเองต้องการ แต่ต้องมาเสียโอกาสเพราะพวกปีสูงที่ตกหรือลงเรียนหม่มาแย่งลงเพียงด้วยเหตุผลว่าคลาสนี้ง่าย ให้คะแนนดี แต่พอได้เรียนกับไม่ตั้งใจเรียน แบบนี้ควรที่จะปรับปรุงระบบใหม่ไม่ดีกว่าหรอครับ
ขอบคุณที่อ่านจนจบครับ
จริงหรือเปล่าที่คณะนิติมหาลัยชื่อดังไม่ค่อยมีมาตรฐานในการให้คะแนน
เพราะผมเองมีเพื่อนตอนสมัยมัธยมเรียนในคณะนี้หลายคน ล่าสุดเพื่อนผมคนหนึ่งได้เกียรตินิยมด้วย
แต่สิ่งที่เขาได้พูดให้ฟังก็คือว่าคนได้เกียรตินิยมมีเยอะ
บางคนเก่งจริงๆ แต่บางคนก็เหมือนมากับดวงคือระดับกลางๆแต่โชคดีตรงก็ตรงที่ว่าได้เรียนคลาสอาจารย์ที่ใจดีให้คะแนนง่ายในแทบทุกวิชา
เพราะเนื่องจากเด็กในคณะแต่ละรุ่นมีจำนวนค่อนข้างมาก ทำให้มีการแบ่งคลาสเรียนหลายๆคลาส
อาจารย์บางคนใจดี บางคนโหด บางคนก็กลางๆ
แบบนี้พอคะแนนออกมามันก็วัดอะไรไม่ได้น่ะสิ่ครับเพราะเรียนกับอาจารย์ไม่เหมือนกันและแต่ละคนมีเกณฑ์การให้คะแนนต่างกัน
ส่วนที่ผมติดใจที่สุดคือเพื่อนเล่าว่าจะมีอาจารย์บางท่านที่นำข้อสอบเก่าๆมาออกโดยที่ไม่ได้มีการแก้ไขโจทย์หรือเนื้อหาเพิ่มเลย สอนไม่รู้เรื่อง และเด็กก็ใช้วิธีจำข้อสอบที่มีขายไปเขียนในห้องสอบเพราะรู้กันอยู่แล้วว่าข้อสอบจะออกตามชีทที่วางขาย พอคะแนนสอบออกมาเลยได้คะแนนดีกัน จริงหรือเปล่าครับ
หรือบางคนที่ตกซ้ำในรายวิชาใดก็ไปแย่งที่ของรุ่นน้องที่จะต้องเรียนในเทอมนั้นๆ เช่น อยู่ปี3ตกวิชาของปี2 ก็ต้องมาจดทะเบียนเรียนในวิชาของปี2 แต่พอได้คลาสที่เป็นอาจารย์ที่ใจดี ก็ไม่เข้าเรียนไม่สนใจเรียน อย่างเพื่อนผมคนนึงที่ตกซ้ำในรายวิชานึงของปี3 มาที่มหาลัยผมบ่อยมากๆ โดยมันบอกว่าไม่ต้องไปเรียนก็ได้ อาจารย์ใจดียังไงก็ให้ผ่านพวกรหัสสูงๆเขาให้จบหมด ใครๆเขาก็ทำกันแบบนี้ไมา แบบนี้ที่ว่าคือไม่ต้องไปเข้าเรียน ซึ่งตัวผมเองไม่ใช่เด็กในสถาบันนี้เลยสงสัยว่า
1.คะแนนที่ได้ในแต่ละวิชาจริงๆก็ไม่สามารถวัดอะไรได้สิครับ เพราะว่านักศึกษาบางคนไม่ได้เรียนกับอาจารย์ผู้สอนท่านเดียวกัน
2.การที่ให้โอกาสหรือให้สิทธิแก่นักศึกษาปีสูงในการเลือกคลาสเรียน (ได้ยินมาว่าใช้ระบบโควตา) ถ้าคลาสไหนปีสูงลงกันมากก็จะไปตัดโอกาสรุ่นน้องที่ต้องการลงในคลาสนั้นๆ ซึ่งผมว่ามันดูไม่แฟร์เก็บน้องๆที่ต้องการลงเรียนคลาสที่ตัวเองต้องการ แต่ต้องมาเสียโอกาสเพราะพวกปีสูงที่ตกหรือลงเรียนหม่มาแย่งลงเพียงด้วยเหตุผลว่าคลาสนี้ง่าย ให้คะแนนดี แต่พอได้เรียนกับไม่ตั้งใจเรียน แบบนี้ควรที่จะปรับปรุงระบบใหม่ไม่ดีกว่าหรอครับ
ขอบคุณที่อ่านจนจบครับ