วิธีการตั้งค่า Access Point TP-Link EAP110 EAP220 หรือรุ่นที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนแรก ดาวน์โหลดโปรแกรม 2 ตัวนี้มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราก่อน
1. โปรแกรม
https://www.tp-link.com/en/download/EAP220.html#EAP_Discovery_Tool
2. โปรแกรม
https://www.tp-link.com/en/download/EAP220.html#Controller_Software
ขั้นตอนที่ 2 การเชื่อมต่อสายแลนเข้ากับตัว Access Point โดยอุปกรณ์หลักที่จำเป็นต้องใช้ในกล่องมีดังนี้
1. สาย power
2. PoE Adapter
3. ตัวเครื่อง EAP110
4. สายแลน จำนวน 2 เส้น (หามาเอง)
วิธีการเชื่อมต่ออุปกรณ์มีดังนี้ นำสายแลน 1 เส้นเสียบจาก สวิตซ์หรือฮับ มาเสียบที่ช่อง LAN ของตัว PoE Adapter จากนั้นเอาสายแลนอีก 1 เส้นเสียบจากช่อง PoE ของตัว PoE Adapter มาเสียบที่ตัว Access Point EAP110 เมื่อเสียบสายแลนเรียบร้อยแล้ว นำสาย power ไปเสียบปลั๊กไฟมาเข้ากับตัว PoE Adapter เพื่อจ่ายไฟไปเข้าตัวเครื่อง Access Point
ขั้นตอนที่ 3 การตั้งค่า ip ให้กับตัวเครื่อง Access Point
1. เปิดโปรแกรม EAP Discover ขึ้นมาเพื่อทำการค้นหา Access Point ถ้าการเชื่อมต่อถูกต้องและอยู่ในวงแลนเดียวกันจะขึ้นดังนี้
2. เมื่อได้ ip address แล้ว สามารถนำ ip ไปวางที่ URL ของเบราเซอร์ได้เลยครับ โดยจะขึ้นดังนี้
Username : admin
Password : admin
(ค่าเริ่มต้นจะเป็นแบบนี้)
3. เมื่อล็อกอินเข้าได้แล้วจะขึ้นหน้าต่างดังนี้
4. คลิกที่เมนู Network จะมีให้ตั้งค่า IP Setting
Dynamic คือตั้งค่าอัตโนมัติ โดยระบบจะแจก ip มาให้ แต่ละวันหรือแต่ละครั้งไม่เหมือนกัน ซึ่งจะเกิดปัญหาได้ถ้า ip ชนกัน (กรณีเป็นหน่วยงานที่มีผู้ใช้งานอินเตร์เน็ตเป็นจำนวนมาก)
Static คือตั้งค่า ip แบบตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวันหรือแต่ละครั้งที่มีการเปิดใช้งานตัวเครื่อง โดยต้องตั้งค่า ip ให้อยู่ในวงแลนของเรา ตัวอย่างเช่น เน็ตของ 3bb tot ฯลฯ ที่มีวงแลนเป็น 192.168.1.1 ก็ตั้งเป็น 192.168.1.2.........n ได้เลย
ip mask คือ sub netmask
gateway คือ default gateway
primary dns คือ DHCP Server
secondary dns คือ DNS Server
สามารถดูได้จาก Network Connection Details ดังนี้
5. เมื่อทำการตั้งค่าเสร็จเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม Save เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการครับ
ส่วนการเปลี่ยนชื่อ SSID หรือชื่อ wi-fi สามารถทำได้ดังนี้
คลิกที่เมนู wireless> wireless setting > SSIDs ตรงช่อง modify คลิก Edit จากนั้นเปลี่ยนตรง SSID ได้ตามต้องการเลยครับ
ถ้าไม่ต้องการตั้ง password wi-fi ก็เลือกตรง security mode เป็น none
เมื่อตั้งค่าเสร็จแล้วอย่าลืมกด OK นะครับ
ขอบคุณครับ หากผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยด้วยครับ
[CR] การตั้งค่า Access Point TP-Link EAP110
ขั้นตอนแรก ดาวน์โหลดโปรแกรม 2 ตัวนี้มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราก่อน
1. โปรแกรม https://www.tp-link.com/en/download/EAP220.html#EAP_Discovery_Tool
2. โปรแกรม https://www.tp-link.com/en/download/EAP220.html#Controller_Software
ขั้นตอนที่ 2 การเชื่อมต่อสายแลนเข้ากับตัว Access Point โดยอุปกรณ์หลักที่จำเป็นต้องใช้ในกล่องมีดังนี้
1. สาย power
2. PoE Adapter
3. ตัวเครื่อง EAP110
4. สายแลน จำนวน 2 เส้น (หามาเอง)
วิธีการเชื่อมต่ออุปกรณ์มีดังนี้ นำสายแลน 1 เส้นเสียบจาก สวิตซ์หรือฮับ มาเสียบที่ช่อง LAN ของตัว PoE Adapter จากนั้นเอาสายแลนอีก 1 เส้นเสียบจากช่อง PoE ของตัว PoE Adapter มาเสียบที่ตัว Access Point EAP110 เมื่อเสียบสายแลนเรียบร้อยแล้ว นำสาย power ไปเสียบปลั๊กไฟมาเข้ากับตัว PoE Adapter เพื่อจ่ายไฟไปเข้าตัวเครื่อง Access Point
ขั้นตอนที่ 3 การตั้งค่า ip ให้กับตัวเครื่อง Access Point
1. เปิดโปรแกรม EAP Discover ขึ้นมาเพื่อทำการค้นหา Access Point ถ้าการเชื่อมต่อถูกต้องและอยู่ในวงแลนเดียวกันจะขึ้นดังนี้
2. เมื่อได้ ip address แล้ว สามารถนำ ip ไปวางที่ URL ของเบราเซอร์ได้เลยครับ โดยจะขึ้นดังนี้
Username : admin
Password : admin
(ค่าเริ่มต้นจะเป็นแบบนี้)
3. เมื่อล็อกอินเข้าได้แล้วจะขึ้นหน้าต่างดังนี้
4. คลิกที่เมนู Network จะมีให้ตั้งค่า IP Setting
Dynamic คือตั้งค่าอัตโนมัติ โดยระบบจะแจก ip มาให้ แต่ละวันหรือแต่ละครั้งไม่เหมือนกัน ซึ่งจะเกิดปัญหาได้ถ้า ip ชนกัน (กรณีเป็นหน่วยงานที่มีผู้ใช้งานอินเตร์เน็ตเป็นจำนวนมาก)
Static คือตั้งค่า ip แบบตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวันหรือแต่ละครั้งที่มีการเปิดใช้งานตัวเครื่อง โดยต้องตั้งค่า ip ให้อยู่ในวงแลนของเรา ตัวอย่างเช่น เน็ตของ 3bb tot ฯลฯ ที่มีวงแลนเป็น 192.168.1.1 ก็ตั้งเป็น 192.168.1.2.........n ได้เลย
ip mask คือ sub netmask
gateway คือ default gateway
primary dns คือ DHCP Server
secondary dns คือ DNS Server
สามารถดูได้จาก Network Connection Details ดังนี้
5. เมื่อทำการตั้งค่าเสร็จเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม Save เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการครับ
ส่วนการเปลี่ยนชื่อ SSID หรือชื่อ wi-fi สามารถทำได้ดังนี้
คลิกที่เมนู wireless> wireless setting > SSIDs ตรงช่อง modify คลิก Edit จากนั้นเปลี่ยนตรง SSID ได้ตามต้องการเลยครับ
ถ้าไม่ต้องการตั้ง password wi-fi ก็เลือกตรง security mode เป็น none
เมื่อตั้งค่าเสร็จแล้วอย่าลืมกด OK นะครับ
ขอบคุณครับ หากผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยด้วยครับ