[Computer] วิศวคอมพิวเตอร์ กับ วิทยาการณ์คอมพิวเตอร์ ในตอนนี้แตกต่างกันยังไงคะ?? [Edit ver.]

คือตอนนี้กำลังหาแนวทางการศึกษาต่อในระดับม.ปลายค่ะ(ตอนนี้อายุ 14) คือเราอยากเรียนทางด้านคอมพิวเตอร์แต่ที่บ้านไม่ให้เรียนปวช.ค่ะ เลยดูๆอยู่ว่าจะเข้าสายวิทย์-คณิต หรือเข้าวิทย์-คอม(วิทย์คณิตคอม) แค่วิทย์คอมเรายังหาโรงเรียนไม่ได้ (ใครรู้ช่วยแนะนำทีนะคะ) เลยมาถามพี่ๆที่เรียนอยู่ว่า
1.วิศวคอมกับวิทยาการคอมมันต่างกันยังไง แนะนำมหาลัยอะไร ทำงานอะไรได้บ้าง(ทั้งในและต่างประเทศ)
2.ถ้าอยากต่อป.ตรีและโทต่างประเทศ(ส่วนตัวอยากเรียนที่อังกฤษค่ะ) ควรจะเข้าสาขาไหนมากกว่ากัน
3.ความมั่นคง ฐานเงินเดือน ในต่างประเทศกับในประเทศไทยต่างกันมากไหม
4.ควรเตรียมตัวในการเรียนมากน้อยแค่ไหน
5.งบประมาณในการเรียนต่อในต่างประเทศในสาขาที่กล่าวมา
6.ควรเรียนภาษาเพิ่มไหม

รบกวนพี่ๆใน pantip ด้วยนะคะ คือตอนนี้สับสนมากจริงๆ จะประกอบการตัดสินใจค่ะ[ฉบับ Edit]
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 5
สายสามัญ   สายวิทย์-คณิต ไปได้ทุกคณะ สาขา ภาควิชา เอก มหาวิทยาลัย
สายสามัญ   ศิลป์คำนวณ ไปได้บางคณะ สาขา ภาควิชา เอก มหาวิทยาลัย
สายสามัญ   ศิลป์ภาษา ไปได้บางคณะ สาขา ภาควิชา เอก มหาวิทยาลัย
สายอาชีพ   สาขาคอมพิวเตอร์ สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก สาขาไฟฟ้า สาขาอิเล็คทรอนิคส์ ไปได้บางคณะ สาขา ภาควิชา เอก มหาวิทยาลัย

ถ้า เรียน ได้ ไหว เรียน สายสามัญ   สายวิทย์-คณิต ไว้ก่อน เพราะ ไปได้ทุกคณะ สาขา ภาควิชา เอก มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย มีทั้ง มหาวิทยาลัย เอกชน & มหาวิทยาลัย รัฐบาล

ชื่อ คณะ สาขา ภาควิชา เอก ก็บอกอยู่แล้ว
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เอก เน้นคนละด้าน

ฟิสิกส์ เป็น ความรู้พื้นฐาน อิเล็คทรอนิคส์
คณิตศาสตร์ เป็น ความรู้พื้นฐาน วิศวกรรมศาสตร์

คอมพิวเตอร์ ทุกสาขา ภาควิชา เอก หนี การเขียนโปรแกรม ไม่พ้น

สาขา ภาควิชา เอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ จะเน้น การเขียนโปรแกรม Software
สาขา ภาควิชา เอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ จะเน้น Software
สาขา ภาควิชา เอก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จะเน้น Hardware & Software
สาขา ภาควิชา เอก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ฟิสิกส์ คำนวณ คณิตศาสตร์ ภาษาE อังกฤษ วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า อิเล็คทรอนิคส์ ต้องได้

วิศวกรรมศาสตร์ ทุกสาขา ภาควิชา เอก ต้องได้ เรียน ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ คำนวณ คณิตศาสตร์ ต้องได้

คณิตศาสตร์ ภาษาE อังกฤษ & ต้องมี หัวLogic

Hardware & Software เขียนโปรแกรม

ภาษา ใช้ในการเรียนต่อ และ การทำงาน

คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา เอก ที่แตกต่างกันไป

เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
เกม แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา เอก ที่แตกต่างกันไป

ไม่ว่า จะเขียนโปรแกรม เกม ต้องมี การออกแบบ Design User Interface:UI

คอมพิวเตอร์ อ่าน อย่างเดียว ไม่ได้ ต้อง ปฏิบัติ ด้วย
เขียนโปรแกรม อ่าน ให้ เข้าใจ ปิด หนังสือ ลอง ตั้งโจทย์ ขึ้นมา เขียน ตามความเข้าใจของเรา
เกิด ข้อผิดพลาด Error Bug ต้อง Edit Code แก้ไขโค้ด ได้ ด้วยตนเอง ไม่พึ่ง คนอื่น เพราะ ไม่มี ใคร มานั่งชี้แนะ ได้ ตลอด เวลา

ภาษาJava ต้องมีความรู้พื้นฐาน ภาษาC
ภาษาPython
ภาษาR

สาขา ภาควิชา เอก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร
สาขา ภาควิชา เอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร

ถ้า ชอบ ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาวิชา เอก คอมพิวเตอร์
ถ้า ชอบ ถนัด ออกแบบ พัฒนา เกม สาขา ภาควิชา เอก เกม สาขา ภาควิชา เอก เกม ก็มี เรียน เขียนโปรแกรม

คอมพิวเตอร์ ทุกสาขา ภาควิชา เอก จะเรียน เหมือนกัน 3 วิชา Database ฐานข้อมูล Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย System Analysis:SA วิเคราะห์และออกแบบระบบ จะต่างกัน ตรง รหัสวิชา ชื่อวิชา

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์  ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า  อิเลคทรอนิกส์  วิศวกรรมศาสตร์  วิทยาศาสตร์  จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี  การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล  ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา  C และ  Visual C++ ตลอดจนภาษา  Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา  Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ  Digital ได้  ซึ่งประกอบด้วย  อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
.  ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล  และซอฟตแวร์ควบคุม
.  ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
.  ออกแบบระบบเว็บบอร์ด  โดยใช้ภาษา HTML
.  ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ  VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
.  การบริการระบบ  Internet
.  วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
.  วิศวกรควบคุม
.  Software Developer
.  System Engineer
.  Multimedia System Engineer   ฯลฯ
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์   การออกแบบ   สร้าง   ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว   (Embeded System)   การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน   VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit)   การออกแบบ   ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย   รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง   ๆ   กัน

อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา
- วิศวกรคอมพิวเตอร์
- วิศวกรระบบเครือข่าย
- วิศวกรระบบความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
- วิศวกรระบบฝังตัว
- วิศวกรวางระบบคอมพิวเตอร์
- วิศวกรดูแลเครือข่ายระบบคอมพิวเตอร์
- ผู้ผลิตและพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
- นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- นักจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรต่างๆ ฯลฯ

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์  เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์  โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน  Algorithm, Data Structure และ  Discrete
Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ  Object โดยใช้ภาษา  Java และเทคโนโลยี .Netสามารถพัฒนาระบบ  Database ได้  สามารถเขียน
โปรแกรม  Web based ได้  สามารถออกแบบโดยใช้ภาษา  UML ได้  มีความเข้าใจในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านSecurity, Web Service และ  Computer Architecture
ทักษะที่นักศึกษาต้องมี  คือ
.  ออกแบบ Object-Oriented Software โดยใช้ภาษา  UML
.  สามารถใช้  CASE Tool ได้
.  สามารถเขียนภาษา  Java ในระดับ  J2EE ได้
.  สามารถใช้เทคโนโลยี.Net ในการสร้าง  Web Service ได้
.  สามารถออกแบบ  Database Application ที่เป็น  Web based ได้  โดยใช้  Oracle database หรือ  Microsoft SQL Server ได้
อาชีพที่เปิดกว้างสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะทำงานที่น่าท้าทายยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สำเร็จสาขานี้จะ สามารถทำงานเป็น
.  Software Developer
.  Programmer
.  Software Test Engineer
.  Network Engineer
.  Programmer
.  System Administrator   ฯลฯ

แนวทางการประกอบอาชีพ
อาชีพที่เกี่ยวข้อง

โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม
ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล
ผู้จัดการโครงการซอฟต์แวร์
ผู้ประสานงานโครงการซอฟต์แวร์
ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย และระบบคอมพิวเตอร์
อื่นๆ   ฯลฯ

โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา   ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง   หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น   นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์   ผู้ดูแลเว็บไซต์   นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ   โปรแกรมเมอร์   นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย   ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ   ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว   ผู้ออกแบบระบบ   VLSI   ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว   ฯลฯ   นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ   SME   ที่เป็นของตนเอง   รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ   ฯลฯ

การเรียน สอน ให้มีงานทำ
กิจกรรม สอน ให้ทำงาน เป็น

อย่า เรียน อย่างเดียว แบ่งเวลา ทำกิจกรรม บ้าง

เรียนจบ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ควรมี ใบประกอบวิชาชีพ กว
เรียนจบ สาขา ภาควิชา เอก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ควรมี ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร ใบCertificate

ไป เรียนต่อ ต่าง ประเทศ ภาษา ต้องได้
ภาษาE อังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาAEC ภาษามาเลย์ ภาษา ประเทศ ที่ จะไป เรียนต่อ ต้องได้
ภาษาE อังกฤษ ภาษาจีน ต้องได้ เพราะ เป็น ภาษาสากล ไปแล้ว
เปิด AEC แล้ว ภาษา ต้องได้

ถ้า 2 สาขา ภาควิชา เอก ระหว่าง สาขา ภาควิชา เอก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ กับ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เลือก สาขา ภาควิชา เอก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ก็ OK นะ

ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน ถ้า เก่ง จริง & มีความสามารถ จริง
เงินเดือน ขึ้นอยู่กับ วุฒิ ตำแหน่ง ประสบการณ์ความสามารถของแต่ละบุคคล
ภาษา   ใช้ในการเรียนต่อ และ การทำงาน

เอาที่ คุณ สบายใจ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่