1.สอบ ก.พ. เพื่ออะไร
สอบ กพ คือ การคัดเลือกบุคคลในระดับวุฒิการศึกษา และสาขาวิชาชีพที่แตกต่าง เพื่อเข้ามาทำงานให้กับหน่วยงานราชการ เรียกได้ว่า เป็นตัวกลาง ระหว่างคนที่ต้องการทำงานราชการ กับ หน่วยงานราชการที่ขาดแคลนคนทำงาน นั่นเอง
ก.พ. ก็คือ ชื่อย่อของ "คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน" มีหน้าที่คือ เป็นคณะกรรมการที่รับผิดชอบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ดำเนินการจัดสอบคัดเลือกเพื่อให้ได้มาซึ่งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เหมาะสมตามตำแหน่งหน้าที่ เพื่อให้สามารถทำงานตามนโยบายของภาครัฐได้อย่างมีประสิธิภาพ และนอกจากนี้ยังมีการสอบ กพ ที่จัดโดยหน่วยงานเฉพาะ ที่ใช้ในการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการเฉพาะหน่วยงานนั้นๆ อีกด้วย
#2. ระดับวุฒิการศึกษาที่รับสมัครสอบ
สำนักงาน ก.พ. จะรับสมัครสอบ จำนวน 4 ระดับ ได้แก่
1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) อนุปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
3. ระดับปริญญาตรี
4. ระดับปริญญาโท
#3.การสอบ กพ แบ่งเป็นแบบใดบ้าง
การทดสอบ ของ กพ เพื่อคัดเลือกบุคลากรเพื่อบรรจุเข้ารับราชการ ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ภาค ดังนี้
1.ภาค ก เปิดสอบโดย กพ : ทุกคนที่จะสอบบรรจุข้าราชการต้องสอบภาค ก
2.ภาค ข เปิดสอบโดย หน่วยงาน : การสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ ,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน ,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ ,นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ,นิติกรเชี่ยวชาญ,นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ,ตำแหน่งนักวิชาการเงินชำนาญการ
3.ภาค ค คือการสอบสัมภาษณ์
#4.นำผลสอบ ก.พ. ไปทำอะไร
ถ้าเราสอบผ่าน ภาค ก แล้วเราก็จะสามารถไปสอบ ภาค ข ของหน่วยงานต่างๆที่เปิดรับสมัครได้ แล้วเมื่อผ่าน ภาค ข ได้ก็จะมีสิทธิในการสอบ ภาค ค ซึ่งเป็นภาคสุดท้ายและเมื่อเราสอบผ่าน ภาค ค ก็จะได้มีสิทธิในการเข้ารับราชการต่อไปตามประกาศของแต่ละหน่วยงานที่เราไปสอบ
สอบ ก.พ.61 ,สอบก.พ. คืออะไร ใช้สอบเพื่ออะไร และสอบวิชาอะไรบ้าง คุณวุฒิที่ใช้สอบ
สอบ กพ คือ การคัดเลือกบุคคลในระดับวุฒิการศึกษา และสาขาวิชาชีพที่แตกต่าง เพื่อเข้ามาทำงานให้กับหน่วยงานราชการ เรียกได้ว่า เป็นตัวกลาง ระหว่างคนที่ต้องการทำงานราชการ กับ หน่วยงานราชการที่ขาดแคลนคนทำงาน นั่นเอง
ก.พ. ก็คือ ชื่อย่อของ "คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน" มีหน้าที่คือ เป็นคณะกรรมการที่รับผิดชอบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ดำเนินการจัดสอบคัดเลือกเพื่อให้ได้มาซึ่งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เหมาะสมตามตำแหน่งหน้าที่ เพื่อให้สามารถทำงานตามนโยบายของภาครัฐได้อย่างมีประสิธิภาพ และนอกจากนี้ยังมีการสอบ กพ ที่จัดโดยหน่วยงานเฉพาะ ที่ใช้ในการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการเฉพาะหน่วยงานนั้นๆ อีกด้วย
#2. ระดับวุฒิการศึกษาที่รับสมัครสอบ
สำนักงาน ก.พ. จะรับสมัครสอบ จำนวน 4 ระดับ ได้แก่
1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) อนุปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
3. ระดับปริญญาตรี
4. ระดับปริญญาโท
#3.การสอบ กพ แบ่งเป็นแบบใดบ้าง
การทดสอบ ของ กพ เพื่อคัดเลือกบุคลากรเพื่อบรรจุเข้ารับราชการ ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ภาค ดังนี้
1.ภาค ก เปิดสอบโดย กพ : ทุกคนที่จะสอบบรรจุข้าราชการต้องสอบภาค ก
2.ภาค ข เปิดสอบโดย หน่วยงาน : การสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ ,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน ,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ ,นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ,นิติกรเชี่ยวชาญ,นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ,ตำแหน่งนักวิชาการเงินชำนาญการ
3.ภาค ค คือการสอบสัมภาษณ์
#4.นำผลสอบ ก.พ. ไปทำอะไร
ถ้าเราสอบผ่าน ภาค ก แล้วเราก็จะสามารถไปสอบ ภาค ข ของหน่วยงานต่างๆที่เปิดรับสมัครได้ แล้วเมื่อผ่าน ภาค ข ได้ก็จะมีสิทธิในการสอบ ภาค ค ซึ่งเป็นภาคสุดท้ายและเมื่อเราสอบผ่าน ภาค ค ก็จะได้มีสิทธิในการเข้ารับราชการต่อไปตามประกาศของแต่ละหน่วยงานที่เราไปสอบ