http://bwfworldtour.com/news-single/2018/01/09/towards-greater-fan-engagement/
นักกีฬา 15 อันดับแรกในประเภทเดี่ยวและ 10 อันดับแรกในประเภทคู่ ตามอันดับโลกของ BWF ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2017 จะต้องทำการแข่งขันในรายการต่อไปนี้
HSBC BWF World Tour -
Finals: Guangzhou, China – All players/pairs who qualify
Super 1000: China, England and Indonesia – All 3 tournaments
Super 750: China, Denmark, France, Japan and Malaysia – All 5 tournaments
Super 500: Hong Kong, India, Indonesia, Korea, Malaysia, Singapore and Thailand – 4 of 7 tournaments
กล่าวคือ BWF บังคับให้ลงแข่งขั้นต่ำ 12 รายการ (+1 รายการ ถ้าได้สิทธิแข่ง Tour Finals) *แต่นักกีฬาก็ยังต้องลงแข่งรายการพิเศษอื่นๆ อีก เช่น ชิงแชมป์โลก, ชิงแชมป์เอเชีย, โทมัส/อูเบอร์คัพ, เอเชี่ยนเกมส์, คอมมอนเวลท์เกม
นอกจากนี้ นักกีฬาที่ไม่อยู่ในรายชื่อด้านล่าง แต่อยู่ใน 15 อันดับแรกประเภทเดี่ยว หรือ 10 อันดับแรกประเภทคู่ ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2018 (สิ้นสุดครึ่งแรกของฤดูกาล 2018) จะต้องทำการแข่งขันรายการ Super 1000 และ Super 750 ที่ยังเหลืออยู่ในปีนี้ และรายการ Super 500 อย่างน้อย 3 รายการ
มาดูรายชื่อนักกีฬากันครับ ของไทยมี 6 คน; หญิงเดี่ยว - รัชนก, ณิชชาอร, หญิงคู่ - จงกลพรรณ/รวินดา, คู่ผสม - เดชาพล/ทรัพย์สิรี
BWF อาจจะไม่พอใจที่บางรายการมีนักกีฬาดังๆ ลงแข่งน้อย หรือบางชาติก็สลับคู่นักกีฬาไปมาตามอำเภอใจ โดยไม่สนใจคนดูหรือประเทศเจ้าภาพ.. ผมสงสัยว่าข่าวนี้
http://www.theborneopost.com/2017/08/29/badminton-time-catches-up-with-chinese-legend-super-dan/ อาจจะมีส่วนทำให้เกิดกฎนี้
http://www.gobadminton.in/International/322/Must-face-penalty-if-failed-to-turn-up-at-certain-tournament-says-BWF
แต่ผลเสียที่ตามมาก็คือ "การลงแข่งขันถี่เกินไปนักกีฬาจะไม่สามารถรักษาฟอร์มการเล่นที่ดีในทุกๆ รายการได้ และมีความเสี่ยงที่ทำให้นักกีฬาได้รับบาดเจ็บมากขึ้น" มีนักกีฬาหลายคนไม่เห็นด้วย เช่น
ไซน่า เนวาล กล่าวว่า เธอไม่เห็นด้วยที่ BWF จะออกกฎกำหนดจำนวนรายการขั้นต่ำที่นักกีฬาจะต้องร่วมการแข่งขั้น เธอคิดว่ากฎนี้จะเป็นสาเหตุให้นักกีฬาได้รับบาดเจ็บ "If I were president of the BWF, then I would copy the world tennis agenda - they have four or five big events like Grand Slam that promise big prizes," Saina said. "I'm glad there's a better change in prize money, but it's going to be difficult if the calendar is changed," she added. "The change of the agenda certainly affects the fitness of all players and I myself need enough time to get back to the desired level," said Saina.
ลีชองเว่ย ก็ได้คุยกับประธาน BWF ถึงกฎข้อนี้โดยตรง และทางสมาคมแบดมาเลเซียทำหนังสือถึง BWF ขอให้ทบทวนกฎนี้แล้ว
https://www.thestar.com.my/sport/badminton/2018/01/03/stretching-us-thin-lee-bwf-shouldnt-force-top-players-to-play-more-tourneys/
ชาติที่สลับคู่นักกีฬาไปแล้วจริงๆ อย่างจีนและเกาหลีจะทำอย่างไร, ถ้านักกีฬาอยู่ในช่วงพักฟื้นจากการรักษาตัว (เช่นปอป้อ) จะโดนปรับหรือไม่ แค่คิดก็ปวดหัวแล้วครับ.. ผมว่ากฎนี้อาจจะถูกยกเลิกตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มใช้ เพราะจีนซึ่งเป็นเจ้าภาพรายการใหญ่สารพัดในปีนี้ คงจะไม่ยอมโดนปรับแน่ๆ ครับ
รายชื่อของนักกีฬาที่ต้องปฏิบัติตามกฎใหม่ที่ระบุไว้ในข้อบังคับของ BWF ฉบับล่าสุดครับ
นักกีฬา 15 อันดับแรกในประเภทเดี่ยวและ 10 อันดับแรกในประเภทคู่ ตามอันดับโลกของ BWF ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2017 จะต้องทำการแข่งขันในรายการต่อไปนี้
HSBC BWF World Tour -
Finals: Guangzhou, China – All players/pairs who qualify
Super 1000: China, England and Indonesia – All 3 tournaments
Super 750: China, Denmark, France, Japan and Malaysia – All 5 tournaments
Super 500: Hong Kong, India, Indonesia, Korea, Malaysia, Singapore and Thailand – 4 of 7 tournaments
กล่าวคือ BWF บังคับให้ลงแข่งขั้นต่ำ 12 รายการ (+1 รายการ ถ้าได้สิทธิแข่ง Tour Finals) *แต่นักกีฬาก็ยังต้องลงแข่งรายการพิเศษอื่นๆ อีก เช่น ชิงแชมป์โลก, ชิงแชมป์เอเชีย, โทมัส/อูเบอร์คัพ, เอเชี่ยนเกมส์, คอมมอนเวลท์เกม
นอกจากนี้ นักกีฬาที่ไม่อยู่ในรายชื่อด้านล่าง แต่อยู่ใน 15 อันดับแรกประเภทเดี่ยว หรือ 10 อันดับแรกประเภทคู่ ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2018 (สิ้นสุดครึ่งแรกของฤดูกาล 2018) จะต้องทำการแข่งขันรายการ Super 1000 และ Super 750 ที่ยังเหลืออยู่ในปีนี้ และรายการ Super 500 อย่างน้อย 3 รายการ
มาดูรายชื่อนักกีฬากันครับ ของไทยมี 6 คน; หญิงเดี่ยว - รัชนก, ณิชชาอร, หญิงคู่ - จงกลพรรณ/รวินดา, คู่ผสม - เดชาพล/ทรัพย์สิรี
BWF อาจจะไม่พอใจที่บางรายการมีนักกีฬาดังๆ ลงแข่งน้อย หรือบางชาติก็สลับคู่นักกีฬาไปมาตามอำเภอใจ โดยไม่สนใจคนดูหรือประเทศเจ้าภาพ.. ผมสงสัยว่าข่าวนี้ http://www.theborneopost.com/2017/08/29/badminton-time-catches-up-with-chinese-legend-super-dan/ อาจจะมีส่วนทำให้เกิดกฎนี้ http://www.gobadminton.in/International/322/Must-face-penalty-if-failed-to-turn-up-at-certain-tournament-says-BWF
แต่ผลเสียที่ตามมาก็คือ "การลงแข่งขันถี่เกินไปนักกีฬาจะไม่สามารถรักษาฟอร์มการเล่นที่ดีในทุกๆ รายการได้ และมีความเสี่ยงที่ทำให้นักกีฬาได้รับบาดเจ็บมากขึ้น" มีนักกีฬาหลายคนไม่เห็นด้วย เช่น
ไซน่า เนวาล กล่าวว่า เธอไม่เห็นด้วยที่ BWF จะออกกฎกำหนดจำนวนรายการขั้นต่ำที่นักกีฬาจะต้องร่วมการแข่งขั้น เธอคิดว่ากฎนี้จะเป็นสาเหตุให้นักกีฬาได้รับบาดเจ็บ "If I were president of the BWF, then I would copy the world tennis agenda - they have four or five big events like Grand Slam that promise big prizes," Saina said. "I'm glad there's a better change in prize money, but it's going to be difficult if the calendar is changed," she added. "The change of the agenda certainly affects the fitness of all players and I myself need enough time to get back to the desired level," said Saina.
ลีชองเว่ย ก็ได้คุยกับประธาน BWF ถึงกฎข้อนี้โดยตรง และทางสมาคมแบดมาเลเซียทำหนังสือถึง BWF ขอให้ทบทวนกฎนี้แล้ว https://www.thestar.com.my/sport/badminton/2018/01/03/stretching-us-thin-lee-bwf-shouldnt-force-top-players-to-play-more-tourneys/
ชาติที่สลับคู่นักกีฬาไปแล้วจริงๆ อย่างจีนและเกาหลีจะทำอย่างไร, ถ้านักกีฬาอยู่ในช่วงพักฟื้นจากการรักษาตัว (เช่นปอป้อ) จะโดนปรับหรือไม่ แค่คิดก็ปวดหัวแล้วครับ.. ผมว่ากฎนี้อาจจะถูกยกเลิกตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มใช้ เพราะจีนซึ่งเป็นเจ้าภาพรายการใหญ่สารพัดในปีนี้ คงจะไม่ยอมโดนปรับแน่ๆ ครับ