พอดีผมมีความสนใจศึกษาการทำธุรกิจพระเครื่องครับ ทั้งนี้มีกังวลเรื่องการจำหน่ายพระเครื่อง เนื่องจากพระเครื่องบางองค์ที่อยู่ในตลาดอาจไม่ได้เป็นรุ่นที่ผลิตจากวัดจริงๆ กลัวว่าจะมีความเสี่ยงผิดกฏหมาย จึงลองหาข้อมูลเพิ่มเติม และพบว่าในหลายเว็บไซด์มีการใช้คำว่า
รูปหล่อ หรือ รูปเหมือน นำหน้าชื่อพระเครื่องพิมพ์ต่างๆ
จึงอยากขอสอบถามทุกท่านว่า
1. คำว่ารูปหล่อ หรือ รูปเหมือน ที่ใช้กับพระเครื่อง หมายความว่าอย่างไรหรอครับ
2. กรณีที่นำพระเครื่อง ที่ไม่ได้เป็นพระที่ทางวัดเป็นผู้ผลิต ไปจำหน่าย (โดยแจ้งรายละเอียดต่อลูกค้าอย่างครบถ้วน พร้อมราคาที่ยุติธรรม) แล้วนั้น จะถือว่าผิดกฏหมายหรือไม่ครับ
3. คำว่า รูปหล่อ และ รูปเหมือน นั้นแตกต่างกันอย่างไรครับ และ ทั่วไปนิยมใช้ว่าอะไรมากกว่ากันครับ
ขอบคุณมากๆเลยนะครับ
ปล. ขออภัยหากโพสกระทู้ผิดหมวด และยอมรับว่าพึ่งเริ่มศึกษาเรื่องดังกล่าว อาจจะมีการเข้าใจผิดไปบางประการครับ
คำว่า "รูปหล่อ/รูปเหมือน" ที่ใช้กับพระเครื่อง คืออะไรหรอครับ และหากจำหน่ายจะผิดกฏหมายหรือไม่ครับ
รูปหล่อ หรือ รูปเหมือน นำหน้าชื่อพระเครื่องพิมพ์ต่างๆ
จึงอยากขอสอบถามทุกท่านว่า
1. คำว่ารูปหล่อ หรือ รูปเหมือน ที่ใช้กับพระเครื่อง หมายความว่าอย่างไรหรอครับ
2. กรณีที่นำพระเครื่อง ที่ไม่ได้เป็นพระที่ทางวัดเป็นผู้ผลิต ไปจำหน่าย (โดยแจ้งรายละเอียดต่อลูกค้าอย่างครบถ้วน พร้อมราคาที่ยุติธรรม) แล้วนั้น จะถือว่าผิดกฏหมายหรือไม่ครับ
3. คำว่า รูปหล่อ และ รูปเหมือน นั้นแตกต่างกันอย่างไรครับ และ ทั่วไปนิยมใช้ว่าอะไรมากกว่ากันครับ
ขอบคุณมากๆเลยนะครับ
ปล. ขออภัยหากโพสกระทู้ผิดหมวด และยอมรับว่าพึ่งเริ่มศึกษาเรื่องดังกล่าว อาจจะมีการเข้าใจผิดไปบางประการครับ