อยู่ดีๆ นึกถึงเรื่องนี้ขึ้นมาแล้วสงสัย ว่าเราสามารถชั่งน้ำหนักอากาศในอากาศได้หรือครับ
ลองนึกขึ้นดูอย่างคร่าวๆ สมมุติว่าลูกโป่งแขวนอยู่บนเชือก(ทั้งสองอย่างไม่มีน้ำหนัก) แรงดึงเชือกลงคือมวลของอากาศที่อยู่ในลูกโป่ง แต่ปริมาตรของลูกโป่งที่พองออกมาจากอากาศที่บรรจุอยู่ทำให้เกิดแรงลอยตัวด้วยเหมือนกัน
- แรงดึงลง(นิวตัน) คือมวลของอากาศข้างใน หาได้จากความหนาแน่นอากาศในลูกโป่ง*ปริมาตรของลูกโป่ง*ค่า g (ความโน้มถ่วง)
- แรงพยุงขึ้น-ลอยตัว ก็หาได้จาก ความความหนาแน่นอากาศนอกลูกโป่ง*ปริมาตรของลูกโป่ง*ค่า g (ความโน้มถ่วง)
ซึ่งมันก็น่าจะเท่ากันเพราะอากาศในลูกโป่งกับนอกลูกโป่งมีความหนาแน่นเท่ากัน แล้วน่าจะอ่านค่าน้ำหนักที่ดึงเชือกได้ 0
แต่มันมีบางคลิป ที่เป่าลูกโป่ง 2 ลูกมาห้อยบนคานแล้วมีเชือกกึ่งกลาง พอปล่อยลมลูกนึงเชือกแล้วลูกที่มีลมอยู่ดึงลงเหมือนว่าหนักกว่าลูกลมแฟบ อันนี้มันเป็นเพราะน้ำหนักอากาศที่ทำแบบนี้จริงๆหรือเปล่าครับ (ผมคิดว่าเป็นน้ำหนักของไอน้ำที่ปนอยู่กับอากาศข้างในเนื่องจากปากเป่าเลยน่าจะทำให้มีความชื้นสูงกว่าอากาศถายนอก, หรือไม่ก็แรงหดตัวของผิวลูกโป่งทำให้ภายในลูกโป่งมีแรงดันอากาศ ความหนาแน่นเลยสูงกว่าอากาศภายนอกลูกโป่ง)
อันนี้ตัวอย่างที่เห็น
http://www.kukai.ac.th/Thai/activities_2015/C2/air-30-09-2558.php
http://www.swp.in.th/2012/1089
http://www.neutron.rmutphysics.com/teaching-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=11071&Itemid=35
จำได้ว่าเคยเห็นในหนังสือเรียนสมัยเด็ก เรื่องช่างน้ำหนักอากาศในถุง เมื่อก่อนก็คิดว่าที่ช่างได้คงเป็นน้ำหนักถุง แต่พอคิดเรื่องแรงลอยตัวเข้าไป เลยสงสัยว่าจริงมันจะชั่งแล้วมีน้ำหนักหรือ ที่สงสัยคือไม่คิดว่ามันจะถูก แต่ถ้ามันเป็นเรื่องที่ถูกแล้วผมเข้าใจผิด ช่วยบอกผมหน่อยว่าผมเข้าใจผิดตรงไหนครับ
อากาศมีน้ำหนักเป็นเรื่องจริง แต่เราสามารถชั่งน้ำหนักอากาศ ในอากาศได้ด้วยหรือครับ
ลองนึกขึ้นดูอย่างคร่าวๆ สมมุติว่าลูกโป่งแขวนอยู่บนเชือก(ทั้งสองอย่างไม่มีน้ำหนัก) แรงดึงเชือกลงคือมวลของอากาศที่อยู่ในลูกโป่ง แต่ปริมาตรของลูกโป่งที่พองออกมาจากอากาศที่บรรจุอยู่ทำให้เกิดแรงลอยตัวด้วยเหมือนกัน
- แรงดึงลง(นิวตัน) คือมวลของอากาศข้างใน หาได้จากความหนาแน่นอากาศในลูกโป่ง*ปริมาตรของลูกโป่ง*ค่า g (ความโน้มถ่วง)
- แรงพยุงขึ้น-ลอยตัว ก็หาได้จาก ความความหนาแน่นอากาศนอกลูกโป่ง*ปริมาตรของลูกโป่ง*ค่า g (ความโน้มถ่วง)
ซึ่งมันก็น่าจะเท่ากันเพราะอากาศในลูกโป่งกับนอกลูกโป่งมีความหนาแน่นเท่ากัน แล้วน่าจะอ่านค่าน้ำหนักที่ดึงเชือกได้ 0
แต่มันมีบางคลิป ที่เป่าลูกโป่ง 2 ลูกมาห้อยบนคานแล้วมีเชือกกึ่งกลาง พอปล่อยลมลูกนึงเชือกแล้วลูกที่มีลมอยู่ดึงลงเหมือนว่าหนักกว่าลูกลมแฟบ อันนี้มันเป็นเพราะน้ำหนักอากาศที่ทำแบบนี้จริงๆหรือเปล่าครับ (ผมคิดว่าเป็นน้ำหนักของไอน้ำที่ปนอยู่กับอากาศข้างในเนื่องจากปากเป่าเลยน่าจะทำให้มีความชื้นสูงกว่าอากาศถายนอก, หรือไม่ก็แรงหดตัวของผิวลูกโป่งทำให้ภายในลูกโป่งมีแรงดันอากาศ ความหนาแน่นเลยสูงกว่าอากาศภายนอกลูกโป่ง)
อันนี้ตัวอย่างที่เห็น
http://www.kukai.ac.th/Thai/activities_2015/C2/air-30-09-2558.php
http://www.swp.in.th/2012/1089
http://www.neutron.rmutphysics.com/teaching-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=11071&Itemid=35
จำได้ว่าเคยเห็นในหนังสือเรียนสมัยเด็ก เรื่องช่างน้ำหนักอากาศในถุง เมื่อก่อนก็คิดว่าที่ช่างได้คงเป็นน้ำหนักถุง แต่พอคิดเรื่องแรงลอยตัวเข้าไป เลยสงสัยว่าจริงมันจะชั่งแล้วมีน้ำหนักหรือ ที่สงสัยคือไม่คิดว่ามันจะถูก แต่ถ้ามันเป็นเรื่องที่ถูกแล้วผมเข้าใจผิด ช่วยบอกผมหน่อยว่าผมเข้าใจผิดตรงไหนครับ