อยากทราบว่าประเทศอื่น เวลากู้ซื้อรถ กู้สินเชื่อ จะต้องใช้คนค้ำประกัน เหมือนบ้านเราไหม...
แล้วเมื่อมีปัญหาคนกู้หนี ผิดสัญญา คนค้ำต้องรับผิดชอบแทนทุกอย่างเหมือนบ้านเราไหม...
มันเป็นอะไรที่ดูไม่สมเหตุสมผล คนค้ำประกันจะว่าไปจริงแล้ว ไม่ได้มีส่วนรู้ส่วนเห็นกับการใช้เงิน หรือ ทรัพย์สินส่วนนั้น...
เมื่อก่อน ๆ คนค้ำ ส่วนใหญ่ จะไม่ตระหนักถึงการให้ความสำคัญตรงนี้ ก็แค่ค้ำ ๆ กันไป สุดท้ายเกิดปัญหา ต้องมาใช้หนี้ในส่วนที่ตัวเองไม่ได้ก่อ...
เรื่องนี้หากมองจริง ๆ มันไม่ได้มีความเป็นธรรมแม้แต่น้อยเลย แต่เมื่อเกิดแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ เพราะว่าเซ็นค้ำไปแล้ว ก่อนเซ็นไม่ได้คิด เรียกร้องความเห็นใจก็ไม่ได้ ศาลก็ว่าไปตามผิด เจ้าหนี้เขาก็ว่าไปตามตัวบทกฎหมายที่ใช้...
ยิ่งสังคมไทย ความเกรงใจระหว่างเพื่อน พี่น้อง ญาติ ยิ่งส่งผลให้มีปัญหาตรงนี้เยอะ เซ็น ๆ ไปเถอะ ถ้าไม่เซ็น คือ เป็นคนไม่ดี เห็นแก่ตัว คบไม่ได้ ไปซะอย่างนี้ ผิดเพี้ยนสิ้นดี...
ถ้ากฎหมายแก้ไข อะไรไม่ได้ อย่างน้อย เป็นไปได้ไหม เวลาเซ็นค้ำประกัน ให้มีทนาย หรือ ที่ปรึกษาทางกฎหมายอยู่ด้วยทุกครั้ง และ บอก ย้ำว่า การเซ็นค้ำประกัน เมื่อคุณเซ็น คุณต้องพร้อมที่จะชดใช้ หนี้ เมื่อผู้กู้ผิดสัญญา ...
การใช้หนี้แทนคนกู้ที่ผิดสัญญา ผมมองไม่ใช่เรื่องเล็ก ๆ ชีวิต คนหนึ่งคน และ ครอบครัวทั้งครอบครัวของเขาสามารถล้มละลายได้เพราะว่า ลายเซ็นแค่ที่เดียว โดยที่ตัวคนค้ำ ไม่ได้มีส่วนรับรู้เห็นในธุรกรรมนั้น ๆ เลย...
หลาย ๆ คนมีชีวิตที่ย่ำแย่ ยิ่งกว่าเจ้าของธุรกรรมตัวจริงที่ล้มบนฟูกเสียอีก...
ก็เลยอยากถามว่า กฎหมายที่ให้คนค้ำรับผิดชอบแทน ผู้กู้นี้เป็นสากล หรือไม่ ประเทศที่เจริญแล้ว เป็นอย่างบ้านเราไหม...
หรือปัญหาคือ คนไทยเราไม่ชอบอ่านสัญญา ก่อนเซ็น และ ไม่รักษาสิทธิ์ ของตัวเอง ...
บางทีความเกรงใน และ บริบทสังคมไทย ก็แปลก การรักษาสิทธิ์ โดยการปฏิเสธเรื่องแบบนี้ จะมองเป็นคนไม่ดีกับอีกฝ่ายที่มาขอให้ช่วยทันที...
อยากให้มีการทำวิจัย เก็บตัวเลข และ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ว่า ปัญหาการใช้หนี้แทนจากการค้ำ นั้นตัวเลขแต่ละปี ๆ มันมากน้อยเทา่ไหร่ ...
เพื่อแก้ไขปัญหาตรงนี้ในระยะยาว ๆ เมื่อแก้กฎหมายไม่ได้ ก็รณรงค์ไปเลย ว่าก่อนกู้ต้องรับรู้ว่าต้องพร้อมใช้หนี้...
การค้ำประกันธุรกรรมทางการเงิน ถือเป็นสากลหรือไม่ครับ ที่คนค้ำต้องรับผิดชอบทุกอย่างแทนผู้กู้ ถ้าผู้กู้ผิดสัญญา
แล้วเมื่อมีปัญหาคนกู้หนี ผิดสัญญา คนค้ำต้องรับผิดชอบแทนทุกอย่างเหมือนบ้านเราไหม...
มันเป็นอะไรที่ดูไม่สมเหตุสมผล คนค้ำประกันจะว่าไปจริงแล้ว ไม่ได้มีส่วนรู้ส่วนเห็นกับการใช้เงิน หรือ ทรัพย์สินส่วนนั้น...
เมื่อก่อน ๆ คนค้ำ ส่วนใหญ่ จะไม่ตระหนักถึงการให้ความสำคัญตรงนี้ ก็แค่ค้ำ ๆ กันไป สุดท้ายเกิดปัญหา ต้องมาใช้หนี้ในส่วนที่ตัวเองไม่ได้ก่อ...
เรื่องนี้หากมองจริง ๆ มันไม่ได้มีความเป็นธรรมแม้แต่น้อยเลย แต่เมื่อเกิดแล้วก็ทำอะไรไม่ได้ เพราะว่าเซ็นค้ำไปแล้ว ก่อนเซ็นไม่ได้คิด เรียกร้องความเห็นใจก็ไม่ได้ ศาลก็ว่าไปตามผิด เจ้าหนี้เขาก็ว่าไปตามตัวบทกฎหมายที่ใช้...
ยิ่งสังคมไทย ความเกรงใจระหว่างเพื่อน พี่น้อง ญาติ ยิ่งส่งผลให้มีปัญหาตรงนี้เยอะ เซ็น ๆ ไปเถอะ ถ้าไม่เซ็น คือ เป็นคนไม่ดี เห็นแก่ตัว คบไม่ได้ ไปซะอย่างนี้ ผิดเพี้ยนสิ้นดี...
ถ้ากฎหมายแก้ไข อะไรไม่ได้ อย่างน้อย เป็นไปได้ไหม เวลาเซ็นค้ำประกัน ให้มีทนาย หรือ ที่ปรึกษาทางกฎหมายอยู่ด้วยทุกครั้ง และ บอก ย้ำว่า การเซ็นค้ำประกัน เมื่อคุณเซ็น คุณต้องพร้อมที่จะชดใช้ หนี้ เมื่อผู้กู้ผิดสัญญา ...
การใช้หนี้แทนคนกู้ที่ผิดสัญญา ผมมองไม่ใช่เรื่องเล็ก ๆ ชีวิต คนหนึ่งคน และ ครอบครัวทั้งครอบครัวของเขาสามารถล้มละลายได้เพราะว่า ลายเซ็นแค่ที่เดียว โดยที่ตัวคนค้ำ ไม่ได้มีส่วนรับรู้เห็นในธุรกรรมนั้น ๆ เลย...
หลาย ๆ คนมีชีวิตที่ย่ำแย่ ยิ่งกว่าเจ้าของธุรกรรมตัวจริงที่ล้มบนฟูกเสียอีก...
ก็เลยอยากถามว่า กฎหมายที่ให้คนค้ำรับผิดชอบแทน ผู้กู้นี้เป็นสากล หรือไม่ ประเทศที่เจริญแล้ว เป็นอย่างบ้านเราไหม...
หรือปัญหาคือ คนไทยเราไม่ชอบอ่านสัญญา ก่อนเซ็น และ ไม่รักษาสิทธิ์ ของตัวเอง ...
บางทีความเกรงใน และ บริบทสังคมไทย ก็แปลก การรักษาสิทธิ์ โดยการปฏิเสธเรื่องแบบนี้ จะมองเป็นคนไม่ดีกับอีกฝ่ายที่มาขอให้ช่วยทันที...
อยากให้มีการทำวิจัย เก็บตัวเลข และ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ว่า ปัญหาการใช้หนี้แทนจากการค้ำ นั้นตัวเลขแต่ละปี ๆ มันมากน้อยเทา่ไหร่ ...
เพื่อแก้ไขปัญหาตรงนี้ในระยะยาว ๆ เมื่อแก้กฎหมายไม่ได้ ก็รณรงค์ไปเลย ว่าก่อนกู้ต้องรับรู้ว่าต้องพร้อมใช้หนี้...