ครั้งหนึ่งเมื่อขับรถเลาะฝั่งตะวันออกของทะเลสาบเหนือเขือนป่าสัก เห็นทางทางรถไฟอยู่ลิบ ๆ
ค้นหาในแผนที่ พบสถานีรถไฟบ้านโคกสลุง
บนถนนเพชรบูรณ์ - สระบุรี ทล.21
เลี้ยวเข้าถนน ทล.2007 ปลายทางที่บ้านโคกสลุง
ป้ายบอกทาง
ถึงสี่แยกบ้านโคกสลุง
เลี้ยวซ้ายไปพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทเบิ้ง
กะว่าไปแวะแล้วจะได้รู้ว่าจะไปเที่ยวไหนต่อ
คุ้นหูคำว่าไทเบิ้ง ... แน่นอน เพราะไทเบิ้งคือคนไทยโคราชบ้านเอง
พูดด้วยภาษาไทยภาคกลาง เสียงเหน่อ
มักลงท้ายด้วย
เบิ้ง ... บ้าง (ไทยเบิ้ง)
ด๊อก ... หรอก
เหว่ย ... แปลว่าไรดียังนึกไม่ออก
เด้อ ... นะ
เพิ่งพบแหล่งคนที่พูดภาษาโคราชที่ลุ่มน้ำป่าสัก ... ชนกลุ่มเดียวกัน
ตำนานว่า
นายพรานสองคนพี่น้องไปนั่งห้างส่าสัตว์ เห็นสาวคนหนึ่งเดินร้องไห้มา
นายพรานคิดว่าเป็นเสือสมิงจึงยิงออกไป ปรากฏว่าไม่ใช่เสือสมิง
จึงตั้งชื่อบริเวณนี้ว่า โคกสาวหลง เพี้ยนเป็นโคกสลุง
หรือ
พบก้อนเศษเหล็กที่ หนองนฤพัฒน์ผจง หรือหนองใหญ่
สันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ถลุงแร่ของชาวบ้านในสมัยก่อน
เรียกหมู่บ้านโคกถลุง เพี้ยนเป็นหมู่บ้านโคกสลุง
เป็นจุดเชื่อมโยง
ภาคกลางกับโคราช
ลพบุรีกับศรีเทพก็เป็นได้ จากกลีบขนุน และฐานโยนี
ศิลปะขอมที่หลงเหลืออยู่ที่วัดโคกสำราญ
ชาวบ้านโคกสลุงที่นี่ เดิมมีที่ทำกินอยู่ริมน้ำป่าสัก
เมื่อสร้างเขื่อน
ที่ทำกินก็จมอยู่ใต้น้ำ การดำรงชีวิตชีวิตจึงเปลี่ยนจากเกษตรกรรมมาเป็นการประมง
ชาวบ้านราว 3000 ครัวเรือน มากเกินกว่าที่จะอพยพไปได้
ทางการจึงได้สร้างเขื่อนล้อมหมู่บ้านไว้
ขึ้นไปบนสันเขื่อนกัน
บ้านโคกสลุงจะอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำในเขื่อน ... ฮอลแลนด์เมืองไทย ...
เหล่านี้เป็นภาพช่วงปลายเดือนกันยายน
ได้ยินมาว่าในเดือนพฤศจิกายน น้ำจะเต็มเขื่อนและที่นี่จะสวยงามมาก
ข้ามทางรถไฟแล้วเลี้ยวลงไปยังสถานีรถไฟ
เนินขวามือคือทางรถไฟ
สถานีรถไฟโคกสลุง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อยู่ระหว่างเขือนกั้นน้ำ และทางรถไฟ
ปิดท้ายด้วยตำแหน่ง ? ในแผนที่
เมื่อวานเห็นโฆษณารถไฟลอยน้ำในโทรทัศน์วันนี้จึงได้นำมาเสนอ
บันทึกนักเดินทาง ... ทางรถไฟลอยน้ำที่บ้านโคกสลุง
ครั้งหนึ่งเมื่อขับรถเลาะฝั่งตะวันออกของทะเลสาบเหนือเขือนป่าสัก เห็นทางทางรถไฟอยู่ลิบ ๆ
ค้นหาในแผนที่ พบสถานีรถไฟบ้านโคกสลุง
บนถนนเพชรบูรณ์ - สระบุรี ทล.21
เลี้ยวเข้าถนน ทล.2007 ปลายทางที่บ้านโคกสลุง
ป้ายบอกทาง
ถึงสี่แยกบ้านโคกสลุง
เลี้ยวซ้ายไปพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทเบิ้ง
กะว่าไปแวะแล้วจะได้รู้ว่าจะไปเที่ยวไหนต่อ
คุ้นหูคำว่าไทเบิ้ง ... แน่นอน เพราะไทเบิ้งคือคนไทยโคราชบ้านเอง
พูดด้วยภาษาไทยภาคกลาง เสียงเหน่อ
มักลงท้ายด้วย
เบิ้ง ... บ้าง (ไทยเบิ้ง)
ด๊อก ... หรอก
เหว่ย ... แปลว่าไรดียังนึกไม่ออก
เด้อ ... นะ
เพิ่งพบแหล่งคนที่พูดภาษาโคราชที่ลุ่มน้ำป่าสัก ... ชนกลุ่มเดียวกัน
ตำนานว่า
นายพรานสองคนพี่น้องไปนั่งห้างส่าสัตว์ เห็นสาวคนหนึ่งเดินร้องไห้มา
นายพรานคิดว่าเป็นเสือสมิงจึงยิงออกไป ปรากฏว่าไม่ใช่เสือสมิง
จึงตั้งชื่อบริเวณนี้ว่า โคกสาวหลง เพี้ยนเป็นโคกสลุง
หรือ
พบก้อนเศษเหล็กที่ หนองนฤพัฒน์ผจง หรือหนองใหญ่
สันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ถลุงแร่ของชาวบ้านในสมัยก่อน
เรียกหมู่บ้านโคกถลุง เพี้ยนเป็นหมู่บ้านโคกสลุง
เป็นจุดเชื่อมโยง
ภาคกลางกับโคราช
ลพบุรีกับศรีเทพก็เป็นได้ จากกลีบขนุน และฐานโยนี
ศิลปะขอมที่หลงเหลืออยู่ที่วัดโคกสำราญ
ชาวบ้านโคกสลุงที่นี่ เดิมมีที่ทำกินอยู่ริมน้ำป่าสัก
เมื่อสร้างเขื่อน
ที่ทำกินก็จมอยู่ใต้น้ำ การดำรงชีวิตชีวิตจึงเปลี่ยนจากเกษตรกรรมมาเป็นการประมง
ชาวบ้านราว 3000 ครัวเรือน มากเกินกว่าที่จะอพยพไปได้
ทางการจึงได้สร้างเขื่อนล้อมหมู่บ้านไว้
ขึ้นไปบนสันเขื่อนกัน
บ้านโคกสลุงจะอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำในเขื่อน ... ฮอลแลนด์เมืองไทย ...
เหล่านี้เป็นภาพช่วงปลายเดือนกันยายน
ได้ยินมาว่าในเดือนพฤศจิกายน น้ำจะเต็มเขื่อนและที่นี่จะสวยงามมาก
ข้ามทางรถไฟแล้วเลี้ยวลงไปยังสถานีรถไฟ
เนินขวามือคือทางรถไฟ
สถานีรถไฟโคกสลุง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อยู่ระหว่างเขือนกั้นน้ำ และทางรถไฟ
ปิดท้ายด้วยตำแหน่ง ? ในแผนที่
เมื่อวานเห็นโฆษณารถไฟลอยน้ำในโทรทัศน์วันนี้จึงได้นำมาเสนอ