คำถามที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดในยุคสมัยของเรา เคยมีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (ชาวยิว) จริงหรือ?

“นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา ชาวยิวได้รับการปฏิบัติอย่างนุ่มนวล ถ้าไม่มีเอาชวิตซ์ (Auschwitz) ก็คงจะไม่มีอิสราเอล”
-โดยนาธาน โกลด์แมนน์ ผู้ก่อตั้งอิสราเอล หยิบยกคำพูดมาจาก ปารีส แมทช์, 29 ธันวาคม 1979

   “ฮอโลคอสต์” (Holocaust) หรือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว ทำได้อิสราเอลมีความได้เปรียบทางจิตวิทยาอย่างมากเหนือโลกของคนศาสนาอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งอเมริกาและเยอรมนี ด้วยการหาประโยชน์จากความผิดที่ฝังแน่นอย่างซับซ้อนอยู่ในหมู่คนที่ไม่ใช่ยิว พวกเขาได้รับ :

• ความช่วยเหลือมากกว่า 65,000 ล้านดอลล่าร์ จากเยอรมนี

• ความช่วยเหลือมากกว่า 55,000 ล้านดอลล่าร์ จากอเมริกา อิสราเอล ประเทศที่เจริญรุ่งเรือง ได้รับเงินช่วยเหลือต่างชาติ 3,200 ล้านดอลล่าร์ (หรือ 8 ล้านดอลล่าร์ต่อวัน) มากกว่าประเทศใดๆ

• ผู้อพยพชาวยิว 45,000 คนจากรัสเซีย มีโควต้าประจำปีสูงที่สุดต่อจากเม็กซิโก พวกเขาเข้ามาในฐานะ “ผู้ลี้ภัย” โดยไม่ต้องมีการตรวจสอบการทำร้าย ในฐานะ “ผู้ลี้ภัย” พวกเขาได้รับสิทธิ์โดยอัตโนมัติในผลประโยชน์ด้านสวัสดิการอย่างเต็มที่ และไม่ถูกตัดสวัสดิการใดๆ

• การล้างสมองอย่างไม่หยุดหย่อนเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในโรงเรียน ทีวี ภาพยนตร์ และหนังสือ ทำให้อิสราเอลและองค์กรยิวอยู่เหนือการวิพากษ์วิจารณ์

 

บุคคลสำคัญอย่างเป็นทางการของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ลดน้อยลง

ทันทีหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้มีอำนาจฝ่ายพันธมิตรได้ประกาศว่า “ชาวยิวถูกฆ่าด้วยก๊าซพิษ” ในค่ายกักกันของเยอรมันทุกแห่ง มีการค้นพบในเวลาต่อมาว่า ร่างผู้เสียชีวิตจำนวนมากที่ถูกถ่ายภาพในค่ายเหล่านั้นเสียชีวิตในช่วงปลายของสงคราม เนื่องจากไข้รากสาด ความหนาว และความอดอยาก ไซม่อน ไวเซนธอล จาก “ศูนย์โฮโลคอสต์” ในลอสแองเจลิส ระบุใน Books and Bookmen เดือนเมษายน 1975 หน้า 5 ว่า “ไม่มีการใช้ก๊าซพิษเกิดขึ้นในค่ายใดๆ บนแผ่นดินเยอรมัน” ยิว แอล.พี. บีเรีย เป็นหัวหน้าตำรวจลับ NKVD ของโซเวียตตั้งแต่ปี 1938 ถึง 1953 ในปี 1945 เขาประกาศว่าพวกเขาได้ค้นพบ “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” ชาวยิวหกล้านคน เรื่องนี้เกิดขึ้นอย่างสะดวกง่ายดายเฉพาะในค่ายในโปแลนด์เท่านั้น บีเรียจะไม่อนุญาตให้นักสืบสวนจากภายนอกคนใดเข้ามาตรวจสอบสถานที่เหล่านี้ นิวยอร์คไทมส์ที่ยิวเป็นเจ้าของได้รายงานในปี 1945 ว่า โซเวียตรัสเซียจัดส่งร่างของชาวยิวสี่ล้านคนที่ถูกทำให้ตาย “ในห้องรมก๊าซที่เอาช์วิตซ์” อย่างไรก็ตาม ในเดือนกรกฎาคมปี 1990 รัฐบาลโปแลนด์ได้ลดตัวเลขนี้เหลือ 1.1 ล้าน และเป็นที่ยอมรับของกลุ่มชาวยิว ถึงแม้จะมีหลักฐานนี้ “ตัวเลขอย่างเป็นทางการ” ของผู้ตายหกล้านคนไม่ได้ถูกลดลงต่ำถึงสามล้าน!

(ควรจะได้หมายเหตุเอาไว้ด้วยว่า เอลิซาเบธ โดล ประธานกาชาดอเมริกา และภรรยาของอดีตวุฒิสมาชิก บ๊อบ โดล ได้เปิดเผยว่า บันทึกการตายอย่างเป็นทางการจากเอาช์วิตซ์ถูกค้นพบในแฟ้มข้อมูลของโซเวียต มันระบุรายชื่อผู้เสียชีวิต 70,000 คนจากสาเหตุทั้งหมด)

 

ไม่เคยมีการออกคำสั่งฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ชาวเยอรมันเป็นนักเก็บบันทึกที่ละเอียดละออ ไม่มีความพยายามที่จะทำลายบันทึกในช่วงสงคราม ซึ่งที่ยึดได้ในเขตยึดครองของสหรัฐฯ แห่งเดียวก็มีน้ำหนักถึง 1,100 ตัน นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ คอลิน ครอส เขียนในชีวประวัติของฮิตเลอร์ หน้า 313 ว่า “ไม่เคยมีอยู่ในขณะนั้น ไม่ว่าสิ่งใดก็ตามที่เป็นเหมือนคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรที่ลงนามโดยฮิตเลอร์เพื่อให้ทำลายล้างชาวยิวในยุโรป”

มาดากัสการ์เป็นเกาะกว้างใหญ่ที่อยู่นอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดีย ขณะนั้นเป็นของชาวฝรั่งเศส เอกสารของเยอรมันหลายพันหน้าได้บันทึกการศึกษาอย่างละเอียดถึงความเป็นไปได้ที่จะก่อตั้งบ้านเกิดของชาวยิวบนเกาะ มาดากัสการ์นี้ มีการทำแผนเพื่อใช้เงินทดแทนให้กับชาวฝรั่งเศส 25,000 คนที่อาศัยอยู่ที่นั้น แม้แต่รัฐบาลฝรั่งเศสก็ได้ศึกษาแผนการนั้น ธีโอดอร์ เฮอร์เซิล ผู้ก่อตั้งลัทธิไซออนิสม์ เห็นว่ามาดากัสการ์เป็นสถานที่ที่เป็นไปได้สำหรับการตั้งรัฐยิว เขายังได้พิจารณาว่าเคนย่า แอฟริกา ซีนาย จากคลองสุเอซไปจนถึงฉนวนกาซ่า และพื้นที่กว้างใหญ่ในภาคใต้ของโปแลนด์ แต่ที่พวกเขาต้องการจริงๆ คือปาเลสไตน์

เมื่อวันที่ 25 มกราคม 1939 รัฐมนตรีต่างประเทศของเยอรมัน ได้ออกเอกสารฉบับหนึ่งเกี่ยวกับการแก้ปัญหาของชาวยิว ซึ่งระบุว่า “นโยบายสุดท้ายเกี่ยวกับชาวยิวก็คือ การอพยพชาวยิวทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในอาณาเขตของโอลด์ไรช์”
ในสมุดบันทึกของเอาช์วิตซ์ เราอ่านพบว่าผู้นำระดับสูงทั้งหมดของเยอรมันสนับสนุนแผนนี้ “เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 1938 กอริงได้กล่าวถึงคำถามเกี่ยวกับมาดากัสการ์ ฮิมม์เลอร์เองก็ใฝ่ฝันถึงเรื่องนั้นมาตั้งแต่ปี 1934 พยานคนหนึ่งยืนยันกับเรา หลังจากการสงบศึกเดือนมิถุนายน 1940 (ฝรั่งเศสยอมแพ้) แนวคิดนี้ถูกนำเสนอพิจารณาโดยรัฐมนตรีต่างประเทศ และได้รับเห็นชอบจากฮิมม์เลอร์ รวมทั้งตัวฮิตเลอร์เองด้วย”

ด้วยเหตุผลเหล่านี้ รีนฮาร์ด ไฮดริช เจ้าหน้าที่หน่วยรบพิเศษ SS จึงได้จัดตั้งสำนักงานกลางเพื่อการอพยพชาวยิวขึ้นมาเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 1939 เมื่อสงครามเริ่มขึ้น เรื่องนี้จึงเป็นไปได้อีกต่อไป ดังนั้น ฮิตเลอร์จึงได้ออกคำสั่งกักกันชาวยิวในฐานะคนต่างด้าวชาติศัตรู และส่งพวกเขาไปยังตะวันออก เมื่อวันที่ 27 มกราคม 1942 ฮิตเลอร์กล่าวว่า “ชาวยิวต้องออกไปจากยุโรป สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ พวกเขาต้องไปยังรัสเซีย”

รูสเวลต์ได้ทำสิ่งเดียวกันกับฮิตเลอร์ด้วยการสั่งให้ชาวอเมริกันเชื้อสายญี่ปุ่น 120,000 คน ที่อาศัยอยู่บนชายฝั่งตะวันตก ถูกกันตัวอยู่ในค่ายกักกัน ในเดือนมีนาคม 1942 รูสเวลต์กล่าวหาว่าพวกเขาเป็น “ภัยต่อความมั่นคง” ผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก ชาวญี่ปุ่นถูกขังอยู่หลังรั้วลวดหนาม และมีทหารยามติดอาวุธเฝ้าอยู่ในทะเลทรายที่ร้อนระอุ

การพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามนูเรมเบิร์ก ได้รับฟังคำให้การจากฮันส์ แลมเมอร์ส ถึงสิ่งที่เขาถือว่าเป็น “ทางออกสุดท้ายของปัญหาชาวยิว” แลมเมอร์สเป็นหัวหน้าสถานกงสุลไรช์ และมีความใกล้ชิดเป็นการส่วนตัวกับฮิมม์เลอร์และฮิตเลอร์ แลมเมอร์สกล่าวว่า เขาถามฮิมม์เลอร์ว่าอะไรคือ “ทางออกสุดท้าย” ฮิมม์เลอร์ตอบว่า “ชาวยิวต้องถูกขับออกไปจากเยอรมนี” เขากล่าวว่า ฮิตเลอร์บอกสิ่งเดียวกันนี้กับเขา กล่าวอีกนัยหนึ่ง “ทางออกสุดท้าย” ก็คือ – การอพยพ! เมื่อถูกถามว่า “คุณได้รู้ครั้งแรกเมื่อไหร่ว่าชาวยิวห้าล้านคนถูกกำจัดไปแล้ว” แลมเมอร์สตอบว่า ได้รู้ “ตอนนี้” ในการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์กนี่เอง! เฮอร์แมน กอริง ก็ได้บอกศาลเช่นกันว่า ครั้งแรกที่เขาได้ยินเรื่องเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นั้นก็คือ “ที่นูเรมเบิร์กนี่เอง!”

เอาช์วิตซ์เป็นบริเวณอุตสาหกรรมทางทหารที่มีค่าย 39 ค่าย ซึ่ง 19 ค่ายในจำนวนนี้จ้างงานชาวยิวเป็นส่วนใหญ่ โรงงานที่ “ค่ายโมโนวิตซ์ หมายเลข 16” เพียงแห่งเดียวจ้างคนงาน 126,000 คน ลีออง โพเลียคอฟ ผู้เชี่ยวชาญด้านการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ได้เขียนในหนังสือ Breviary of Hate หน้า  134 เมื่อปี 1979 ว่า วอร์ซอว์ เกตโต ของชาวยิว เป็นหนึ่งใน “ศูนย์เสบียงที่สำคัญมากที่สุดของชาวเยอรมัน ที่สำคัญทางเศรษฐกิจอันดับสองก็คือ ลอดซ์ เกตโต เพราะมันผลิตสินค้าทุกประเภท และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุตสาหกรรมสิ่งทอของมันได้สร้างการสนับสนุนทางเศรษฐกิจมูลค่ามหาศาลแก่เยอรมัน”

เฮนริช ฮิมม์เลอร์ กลัวว่าจะมีการระบาดของไข้รากสาดในค่าย ชาวยิวในยุโรตะวันออกไม่มีสุขอนามัยที่ดีเลย และมักจะถูกกล่าวโทษว่าแพร่โรคไข้รากสาด วันที่ 28 ธันวาคม 1942 ฮิมม์เลอร์ได้ออกคำสั่งว่า “อัตราการเสียชีวิตในค่ายจะต้องลดลงไม่ว่าอย่างไรก็ตาม” (ที่มา, หนังสือ The Final Solution ของ Reitlinger) เมื่อวันที่ 20 มกราคม 1943 หัวหน้าผู้คุมค่าย ริชาร์ด กลั๊กส์ ตอบฮิมม์เลอร์ว่า “จะใช้ทุกวิธีการเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตให้ได้” (ที่มา, เอกสารการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก หมายเลข 1523) อัตราการเสียชีวิตลดลงจาก 8.5% เหลือ  2.8% ในเดือนมิถุนายน 1943

วันที่ 17 เมษายน 1943 ฮิตเลอร์ได้ขอจากพลเรือเอกฮอร์ธี่ ผู้แทนพระองค์จากฮังการี ให้ “ชาวยิว 100,000 คนได้ทำงานในโครงการเครื่องบินติดตามลำใหม่” (ที่มา, หนังสือ Die Endlosung ของ Reitlinger ปี 1956 หน้า 478) ในเดือนพฤษภาคม 1944 ฮิตเลอร์ได้ออกคำสั่งเป็นการส่วนตัวให้ชาวยิวมากกว่า 200,000 คน ได้เข้าทำงานในด้านการก่อสร้าง และ “งานในกองทัพที่สำคัญอื่นๆ”

ชาวยิวมีความสำคัญอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรมสงครามของเยอรมัน มันคงจะเป็นการสวนทางกับการผลิตถ้ากำจัดพวกเขาไป ตามข้อเท็จจริง หน่วย SS ได้จับกุมคาร์ล คอช ผู้บัญชาการบูเชนวอลด์ ที่ปฏิบัติไม่ดีและตัดสินลงโทษอย่างไม่เป็นธรรมต่อนักโทษ หลังจากศาลทหารพบว่ามีความผิด คอชถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการยิงเป้า ถ้าหากว่ามี “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” จริงๆ เขาคงจะได้รับการเชิดชูเกียรติแทนที่จะเป็นการประหารชีวิต

ภาพยนตร์เรื่อง Shindler’s List เป็นเรื่องราวของนายพลอามอน โกธ ผู้ซึ่งกระทำความผิดต่อนักโทษในเรื่องจริง อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ได้บอกให้ผู้ชมรู้ว่าเขาถูกจับกุมโดยหน่วย SS และอยู่ในคุกรอการพิจารณาคดีเมื่อสิ้นสุดสงคราม ภาพน่ากลัวของศพส่วนใหญ่ที่เราเห็นในภาพยนตร์เกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ “ที่สร้างขึ้นเพื่อโทรทัศน์” เป็นภาพของผู้ที่เสียชีวิตจากความอดอยากและโรคในช่วงหลายเดือนสุดท้ายของสงคราม ดังตัวอย่างในเมืองดาชอ ชาวยิวประมาณ 54 คนเสียชีวิตในเดือนมกราคม 1944 และ 101 คนเสียชีวิตในเดือนกุมภาพันธ์  1944 เมื่อเสบียงอาหารและเวชภัณฑ์ไม่สามารถถูกส่งไปให้ได้เนื่องจากการทิ้งระเบิดของพันธมิตร ชาวยิว 2,888 คนเสียชีวิตในเดือนมกราคม และ 3,977 คนเสียชีวิตในเดือนกุมภาพันธ์ 1945

 

เป็นไปไม่ได้ที่จะรมก๊าซพิษหมู่

เอาช์วิตซ์ไม่มีสุสานหมู่ การเผาศพของสี่ล้านศพจะต้องเหลือเถ้าถ่านถึง 15,000 ตัน ซึ่งไม่เคยถูกค้นพบ จำเป็นจะต้องใช้ถ่านหลายตันเพื่อเผาศพหมู่มากมายเช่นนั้น ในช่วงแรกเริ่ม โซเวียตบอกเล่าเรื่องราวที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับการเสียชีวิตของหกล้านคนในค่ายที่อยู่ภายใต้การควบคุมของพวกเขา ตอนแรกพวกเขาอ้างว่านักโทษเหล่านั้นถูก “อบไอน้ำ” จนตาย เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 1945 ผู้พิพากษาคอมมิวนิสต์คนหนึ่งได้ออก “ ข้อกล่าวหาหมายเลข 6” ต่อจำเลยฮันส์ แฟรงก์ ที่นูเรมเบิร์ก :

“เครื่องต้มขนาดใหญ่เพื่อการผลิตไอร้อนยิ่งยวดได้ถูกต่อเข้าไปด้านในของห้อง ประตูถูกปิดอย่างแน่นหนา และการขาดอากาศหายใจอย่างยาวนานของเหยื่อด้วยไอน้ำก็เริ่มต้นขึ้น ตอนแรก เสียงหวีดร้องดังมาจากด้านใน พวกเขาตายอย่างช้าๆ หลังจาก 15 นาทีผ่านไป การประหารชีวิตจึงเสร็จสิ้นลง”

เรื่องนี้ไม่น่าเชื่อ ต่อมามันถูกเปลี่ยนเป็นการอ้างว่ารถบรรทุกหลายคันถูกส่งมาที่ “ห้องประหาร” และก๊าซคาร์บอน มอนอ๊อกไซด์ถูกสูบเข้าไปในห้องเหล่านั้น ข้ออ้างนี้ “ถูกลืม” ไปเช่นกัน แล้วต่อมาโซเวียตก็เปลี่ยนเป็นว่า เยอรมันได้เปลี่ยน “ห้องอบไอน้ำ” ไปเป็น “ห้องรมก๊าซ”

แล้วโซเวียตก็ออกมาพูดถึงแนวคิดแบบนิยายถึงวิธีการที่ชาวยิวถูกกำจัดที่ค่ายเบลเซ็ก “ชาวยิวถูกสั่งให้ถอดเสื้อผ้าเหมือนจะให้อาบน้ำ พวกเขาถูกนำตัวเข้าไปในอาคารแห่งหนึ่งที่สามารถจุคนได้หลายร้อยคน น้ำถูกเติมเข้ามาจนถึงคอของพวกเขา หลังจากนั้น กระแสไฟฟ้าแรงสูงได้ถูกส่งเข้าไปในพื้นโลหะ และภายในไม่กี่วินาที ชาวยิวทั้งหมด ครั้งละหลายพันคน ก็เสียชีวิต”

อัยการชาวโซเวียต แอล.เอ็น.สเมียร์นอฟ ได้อ่านข้อกล่าวหานี้ในบันทึกเมื่อ 19 ธันวาคม 1945 ในการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก ในที่สุดเรื่องนี้ได้วิวัฒนาไปเป็นการประหารด้วยก๊าซ “Zyklon B” ก๊าซนี้เป็นสารกำจัดแมลงที่ใช้กันอย่างกว้างขวางเพื่อฆ่าเหา ซึ่งเป็นภัยต่อสุขภาพที่ใหญ่ที่สุดในค่าย ถ้าชาวเยอรมันต้องการที่จะทำการสังหารหมู่จริงๆ พวกเขามีผลิตภัณฑ์ที่อันตรายมากกว่านั้นถึงพันเท่า เช่น ก๊าซทำลายประสาท Sarin  และ  Tabun

วิศวกรชาวออสเตรีย วองเตอร์ ลุฟเทิล เขียนรายงานบทหนึ่งในเดือนมีนาคม 1992 ในเรื่องที่เขาพบว่า “ก๊าซ Zyklon B ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะนำมาใช้เพื่อจุดสงค์ในการสังหารหมู่อย่างเป็นระบบ”
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่