คำถามที่ผู้หญิงที่โดนข่มขืนมักถูกตั้งคำถาม
คำถามที่สะท้อนวาทกรรมการที่ผู้หญิงโดนข่มขืนที่เหมือนๆ กันในทุกสังคมวัฒนธรรม ชายเป็นใหญ่
ที่ผู้หญิงที่โดนข่มขืนคือ
"ผู้หญิงเลว" และแสดงให้เห็นว่าการที่
"วัฒนธรรมการข่มขืน"
ยังดำรงอยู่ก็เพราะนัยยะที่สังคมผลิตซ้ำๆ ต่อเรื่องนี้ เช่น การข่มขืนคือการลงโทษผู้หญิงที่แต่งตัวโป๊
ด้วยเหตุนี้
Jen Brockman ผู้อำนวยการฝ่ายการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ
ของมหาวิทยาลัย Kansas ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงจัดแสดงนิทรรศการ
“What Were You Wearing: Survivor Art Installation” หรือ
"อะไรที่คุณสวม" ขึ้น
โดยในนิทรรศการคุณจะได้พบกับ เสื้อผ้า 18 ชุดที่ผู้หญิงที่ถูกข่มขืนสวม
ในวันที่พวกเธอถูกข่มขืนและเรื่องราวประสบการณ์ความเลวร้ายที่พวกเธอเผชิญ
โครงการ
Survivor Art เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ.2013 ที่มหาวิทยาลัย Arkansas
และได้ย้ายที่จัดแสดงไปตามมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วสหรัฐอเมริกา
ซึ่งทั้งเสื้อผ้าและเรื่องราวที่จัดแสดงสะท้อนอย่างแจ่มชัด ถึงความเจ็บปวดที่ผู้หญิงต้องเผชิญ
เช่นเรื่องราวของชุดหนึ่งที่เล่าว่า
"นี่เป็นเสื้อและกางเกงที่ฉันใส่ตอนอายุ 6 ขวบ ตอนที่ฉันโดนข่มขืน"
ดังนั้นแทนที่จะถามว่า
" แต่งตัวอย่างไงถึงโดนข่มขืน? "
เราต้องถามว่า
'เราจะหยุดเรื่องนี้ได้อย่างไร?'
Source : สมรรถนะวัฒนธรรม cultural Competence
"เธอแต่งตัวโป๊ใช่ไหมล่ะ เลยโดนข่มขืน"
คำถามที่ผู้หญิงที่โดนข่มขืนมักถูกตั้งคำถาม
คำถามที่สะท้อนวาทกรรมการที่ผู้หญิงโดนข่มขืนที่เหมือนๆ กันในทุกสังคมวัฒนธรรม ชายเป็นใหญ่
ที่ผู้หญิงที่โดนข่มขืนคือ "ผู้หญิงเลว" และแสดงให้เห็นว่าการที่ "วัฒนธรรมการข่มขืน"
ยังดำรงอยู่ก็เพราะนัยยะที่สังคมผลิตซ้ำๆ ต่อเรื่องนี้ เช่น การข่มขืนคือการลงโทษผู้หญิงที่แต่งตัวโป๊
ด้วยเหตุนี้ Jen Brockman ผู้อำนวยการฝ่ายการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ
ของมหาวิทยาลัย Kansas ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงจัดแสดงนิทรรศการ
“What Were You Wearing: Survivor Art Installation” หรือ "อะไรที่คุณสวม" ขึ้น
โดยในนิทรรศการคุณจะได้พบกับ เสื้อผ้า 18 ชุดที่ผู้หญิงที่ถูกข่มขืนสวม
ในวันที่พวกเธอถูกข่มขืนและเรื่องราวประสบการณ์ความเลวร้ายที่พวกเธอเผชิญ
โครงการ Survivor Art เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ.2013 ที่มหาวิทยาลัย Arkansas
และได้ย้ายที่จัดแสดงไปตามมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วสหรัฐอเมริกา
ซึ่งทั้งเสื้อผ้าและเรื่องราวที่จัดแสดงสะท้อนอย่างแจ่มชัด ถึงความเจ็บปวดที่ผู้หญิงต้องเผชิญ
เช่นเรื่องราวของชุดหนึ่งที่เล่าว่า "นี่เป็นเสื้อและกางเกงที่ฉันใส่ตอนอายุ 6 ขวบ ตอนที่ฉันโดนข่มขืน"
ดังนั้นแทนที่จะถามว่า
" แต่งตัวอย่างไงถึงโดนข่มขืน? "
เราต้องถามว่า
'เราจะหยุดเรื่องนี้ได้อย่างไร?'
Source : สมรรถนะวัฒนธรรม cultural Competence