รองเท้าที่คนไทยนิยมมากที่สุดคือ van
ปิดร้านครั้งแรกมีคนให้ความสนใจกับรองเท้าพื้น Waffle ที่พัฒนาส่วนผสมวัตถุดิบยางเอง และซื้อกลับบ้านไปใช้ทั้งหมด 16 ราย “เราพยายามทำทุกวิถีทางที่จะเรียกลูกค้าเข้าร้าน และลองสินค้าของเรา” คุณ Steve Doren ลูกชายของคุณ Paul Van Doren ที่เริ่มทำงานที่ร้านตั้งแต่อายุได้เพียง 10 ขวบกล่าว โดยรองเท้าคู่แรกที่ทาง Vans ได้ผลิตขายคือ Vans #44 Deck Shoes หรือ Authentic ในปัจจุบัน แต่ ณ เวลานั้นคุณ Paul Van Doren ไม่ได้ผลิตรองเท้าเตรียมไว้เพื่อขายในวันแรก ทำให้เกิดปัญหาเล็กน้อยคือรองเท้าไม่พอกับความต้องกาเข้าสู่ช่วง 1970s ที่กระแส Skateboard เริ่มโด่งดังและแบรนด์รองเท้าแบรนด์อื่นก็หันไปผลิตแต่รองเท้ากีฬากันหมด ทำให้ Vans เห็นช่องว่างดังกล่าว และกระโดดเข้ามาครองตลาดรองเท้า Skate แบบเต็มรูปแบบโดยนัก Skate ชื่อดังในยุคสมัยนั้นต่างก็ใช้ Vans กันหมดไม่ว่าจะเป็น Z-boys Tony Alva และ Stacy Peralta เนื่องจากความแข็งแรงทนทานและพื้นหนาที่เรียกว่า Waffle Sole (ถูกคิดค้นโดยคุณ James และตั้งชื่อว่า Waffle Sole ตั้งแต่วันแรกที่คิดค้นได้) “มันคือรองเท้าที่ดีที่สุด มันให้ความมั่นคงและการยึดเกาะที่ดี” คุณ Alva กล่าว “รองเท้า Vans คือรองเท้าที่เหมาะกับทุกสถานการณ์รวมถึงการเล่น Skateboard”หลังจากความโด่งดังของรองเท้าด้าน Skate ทำให้ Vans พัฒนาทรงใหม่ในช่วงกลางปี 1970s โดยให้ชื่อว่า “The Era” ซึ่งถือเป็นเวอร์ชั่นพัฒนามาจาก Authentic นั่นเองและให้รหัสว่า “Style #95” แถมเริ่มพัฒนาระบบการผลิตแบบ Custom Made คือให้ลูกค้าสามารถเลือกชนิดของผ้าได้ ซึ่งถือเป็นเรื่องใหญ่มากในวงการ Skate ที่ทุกคนต่างต้องการความเท่ห์แบบไม่ซ้ำใคร บวกกับ Design ที่เพิ่ม Support บริเวณข้อเท้าทำให้ Era โด่งดัง และในปี 1977 ทาง Vans ก็ได้ปล่อยรองเท้า Old Skool ออกมาเขย่าตลาดอีกรอบ และครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกในการใส่ลวดลายเอกลักษณ์อย่าง Jazz Stripe ลงไปจนเข้าสู่ปี 1982 ด้วยความดังของหนังเรื่อง Fast Times at Ridgemont High ทำให้ Vans ที่ถูกใส่โดย Sean Penn ดังเป็นพลุแตกกับรองเท้า Slip-On รหัส #77 ที่เป็นลายตารางหมากรุก ในปีต่อมา Vans ก็เริ่มขยับขยาย เพิ่มช่องทางในการขายมากขึ้น โดยขยายตลาดไปสู่ Pop Culture และเริ่มมีการ Collaboration มากขึ้น แต่พอก้าวเข้าสู่ปี 1984 บริษัทได้เกิดปัญหาด้านการเงินจนล้มละลาย เพราะราคาขายของรองเท้าที่ Vans ผลิตมีราคาที่ต่ำมาก เมื่อเทียบกับวัตถุดิบและการตัดเย็บทำให้รายจ่ายมีมากกว่ารายรับนั่นเอง แต่มีการปรับโครงสร้างเพื่อฟื้นฟูกิจการในที่สุด
[CR][SR] เเต่งตัวเเนวเเฟชั่น
ปิดร้านครั้งแรกมีคนให้ความสนใจกับรองเท้าพื้น Waffle ที่พัฒนาส่วนผสมวัตถุดิบยางเอง และซื้อกลับบ้านไปใช้ทั้งหมด 16 ราย “เราพยายามทำทุกวิถีทางที่จะเรียกลูกค้าเข้าร้าน และลองสินค้าของเรา” คุณ Steve Doren ลูกชายของคุณ Paul Van Doren ที่เริ่มทำงานที่ร้านตั้งแต่อายุได้เพียง 10 ขวบกล่าว โดยรองเท้าคู่แรกที่ทาง Vans ได้ผลิตขายคือ Vans #44 Deck Shoes หรือ Authentic ในปัจจุบัน แต่ ณ เวลานั้นคุณ Paul Van Doren ไม่ได้ผลิตรองเท้าเตรียมไว้เพื่อขายในวันแรก ทำให้เกิดปัญหาเล็กน้อยคือรองเท้าไม่พอกับความต้องกาเข้าสู่ช่วง 1970s ที่กระแส Skateboard เริ่มโด่งดังและแบรนด์รองเท้าแบรนด์อื่นก็หันไปผลิตแต่รองเท้ากีฬากันหมด ทำให้ Vans เห็นช่องว่างดังกล่าว และกระโดดเข้ามาครองตลาดรองเท้า Skate แบบเต็มรูปแบบโดยนัก Skate ชื่อดังในยุคสมัยนั้นต่างก็ใช้ Vans กันหมดไม่ว่าจะเป็น Z-boys Tony Alva และ Stacy Peralta เนื่องจากความแข็งแรงทนทานและพื้นหนาที่เรียกว่า Waffle Sole (ถูกคิดค้นโดยคุณ James และตั้งชื่อว่า Waffle Sole ตั้งแต่วันแรกที่คิดค้นได้) “มันคือรองเท้าที่ดีที่สุด มันให้ความมั่นคงและการยึดเกาะที่ดี” คุณ Alva กล่าว “รองเท้า Vans คือรองเท้าที่เหมาะกับทุกสถานการณ์รวมถึงการเล่น Skateboard”หลังจากความโด่งดังของรองเท้าด้าน Skate ทำให้ Vans พัฒนาทรงใหม่ในช่วงกลางปี 1970s โดยให้ชื่อว่า “The Era” ซึ่งถือเป็นเวอร์ชั่นพัฒนามาจาก Authentic นั่นเองและให้รหัสว่า “Style #95” แถมเริ่มพัฒนาระบบการผลิตแบบ Custom Made คือให้ลูกค้าสามารถเลือกชนิดของผ้าได้ ซึ่งถือเป็นเรื่องใหญ่มากในวงการ Skate ที่ทุกคนต่างต้องการความเท่ห์แบบไม่ซ้ำใคร บวกกับ Design ที่เพิ่ม Support บริเวณข้อเท้าทำให้ Era โด่งดัง และในปี 1977 ทาง Vans ก็ได้ปล่อยรองเท้า Old Skool ออกมาเขย่าตลาดอีกรอบ และครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกในการใส่ลวดลายเอกลักษณ์อย่าง Jazz Stripe ลงไปจนเข้าสู่ปี 1982 ด้วยความดังของหนังเรื่อง Fast Times at Ridgemont High ทำให้ Vans ที่ถูกใส่โดย Sean Penn ดังเป็นพลุแตกกับรองเท้า Slip-On รหัส #77 ที่เป็นลายตารางหมากรุก ในปีต่อมา Vans ก็เริ่มขยับขยาย เพิ่มช่องทางในการขายมากขึ้น โดยขยายตลาดไปสู่ Pop Culture และเริ่มมีการ Collaboration มากขึ้น แต่พอก้าวเข้าสู่ปี 1984 บริษัทได้เกิดปัญหาด้านการเงินจนล้มละลาย เพราะราคาขายของรองเท้าที่ Vans ผลิตมีราคาที่ต่ำมาก เมื่อเทียบกับวัตถุดิบและการตัดเย็บทำให้รายจ่ายมีมากกว่ารายรับนั่นเอง แต่มีการปรับโครงสร้างเพื่อฟื้นฟูกิจการในที่สุด
**SR - Sponsored Review : ผู้เขียนรีวิวนี้ไม่ได้ซื้อสินค้าหรือเสียค่าบริการเอง แต่มีผู้สนับสนุนสินค้าหรือบริการนี้ให้แก่ผู้เขียนรีวิว โดยที่ผู้เขียนรีวิวไม่ได้รับสิ่งตอบแทนอื่นใดในการเขียนรีวิว