แนวทางการเลื่อนยศ ของทหาร ทั้งประทวน และสัญญาบัตร

จากที่ได้อ่านหลายท่าน ทำให้ผมเห็นว่า หลายๆคน ยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อน
ในแนวทางการรับราชการทหาร  

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
นายทหาร ผู้ที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษา จากโรงเรียนเหล่าทัพ

มักจะมีคำถามบ่อยๆว่า จะไปได้ไกลแค่ไหน

ตัวผมเอง รับราชการทหารเรือ จบจากสถาบันหลัก ปกติจะได้ทำงานคลุกคลีกับ
นายทหารกลุ่มนี้เป็นประจำ ซึ่งแต่ละคนก็มีมีความสามารถสูงเลยทีเดียว

ทร.จะจัดกลุ่มนายทหารที่รับสมัคร คัดเลือก จากพลเรือนที่จบระดับปริฐญาเพื่อเป็นนายทหารสัญญาบัตรว่า
นายทหารชั้น ป.  และหลักเกณฑ์การเลื่อนยศ ไม่แตกต่างกัน กับ นายทหารชั้น ก. เลย  ยกเว้นตำแหน่ง  ที่กำหนดไว้ชัดเจน
ว่าตำแหน่งใด ของชั้น ป.  ตำแหน่งใด ของชั้น ก. และตำแหน่งใด ของชั้น ข.(สอบเลื่อนยศมาจากประทวน)
สามส่วนนี้ จะแยกกันโดยขัดเจน ไม่สามารถ แทนกันได้แย่งกันได้

ก็เลยเอาแนวทางมาฝากกัน เผื่อใครสนใจทางนี้ แล้วไม่มีข้อมูลไว้พิจารณาในการรับราชการ
และแก้ไขความเข้าใจผิดจากหลายๆท่าน  

1 แนวทางการปรับเลื่อนยศ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

2.ปีครองยศ สำหรับพิจารณาในการเลื่อนยศสัญญาบัตร
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

3 ดูของชั้นประทวนด้วย
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

มีแก้ไขระเบียบบางข้อในปีหลังๆ ก็ลองหาๆกันดูนะครับ

ที่มา โหลดมาอ่านเล่นกันครับ ถ้าสนใจ
http://www.swcom.mi.th/km/images/docs/dodrankpromote.pdf

หวังว่าจะเสริมเพิ่มเติมความเข้าในการเลื่อนยศ ในงานราชการทหารกันครับ

ปล.นายทหารสัญญาบัตร ที่ สอบเลื่อนชั้นมาจากประทวน  จะมีระเบียบ การเลื่อนยศอีกแบบครับ
เนื่องจากวุฒิการศึกษา และ อัตรา ตำแหน่งที่เลื่อนขึ้นมานั้น คุณสมบัติ ต่างกัน กับ อัตราตำแหน่ง สัญญาบัตร ที่ มีวุฒิ ปริญญาบัตร ขึ้นไป  
      พูดง่ายๆคือ เริ่มเข้ากองทัพ จากชั้นประทวน ซึ่งวุฒิการศึกษาเป็น ระดับ ประกาศนียบัตร
ถึงแม้จะสอบได้นายทหารแล้ว วุฒิการศึกษา ก็ยังเท่าเดิม  
      ส่วนกลุ่มที่สอบได้นายทหาร แล้วเรียนเพิ่มเติม จนได้วุฒิระดับ ปริญญา แล้วยื่นวุฒิเพิ่มน่าจะคนละส่วนกัน กับชั้น ป. ครับ เพราะ ตำแหน่งที่สอบเลื่อนมานั่น ก็ตามย่อหน้าบน

ใครทราบระเบียบส่วนไหนเพิ่มเติม  บอกต่อกันครับ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่