แหล่งข้อมูลจากเว็บไซต์
https://www.ตู้หยอดเหรียญ.com ให้ข้อมูลว่า
คุณสมบัติ
– ขนาดของตู้ 75*75*210 เซ็นติเมตร
– กำลังผลิต 150 กิโลกรัม / วัน
– หยอดขั้นต่ำ 1 บาทขึ้นไป
– ตั้งค่าปริมาณน้ำแข็งได้
– น้ำแข็งที่ได้เป็นน้ำแข็งยูนิตสี่เหลี่ยม ขนาด 4 ซม. ก้อนตันทั้งก้อน ละลายช้า น้ำแข็งใสสะอาด ถูกหลักอนามัย
– บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
– ระบบทำงานเองอัตโนมัติทำให้ไม่ต้องจัดเตรียมสินค้า
– ไม่ต้องมีพนักงานคอยบริการ
– ลงทุนให้ผลตอบแทนระยะยาว
ต้นทุนค่าน้ำ / ค่าไฟฟ้าในการผลิตน้ำแข็ง 1 กิโลกรัม
– ค่าน้ำประปา (ลูกบาศก์เมตร) หน่วยละ 10 บาท โดยเฉลี่ยประมาณ 1-2 สตางค์
– ค่าไฟฟ้า คำนวณกำลังไฟฟ้าของเครื่อง (กิโลวัตต์/ชั่วโมง) หน่วยละ 3.30 บาท (รวมค่า FTและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) โดยเฉลี่ยประมาณ 60 สตางค์
แต่ราคาตู้สูงถึง 200,000 บาท ถ้าขาย กก.ละ 5 บาท หักค่น้ำค่าไฟ กก.ละประมาณ 1 บาท จุดคุ้มทุนไม่ต่ำกว่า 2 ปี อะไหล่มีขายในไทย และโรงงานนี้ผลิตเครื่องทำน้ำแข็งให้ 7-11 หลายสาขา
อยากทราบว่าในมุมมุมทั้งผู้ให้บริการ และในมุมมองของลูกค้า น่าจะมีทิศทางไปทางไหนครับ
ตู้น้ำแข็งหยอดเหรียญมีแววที่จะเป็นไปได้ไหมกับความคิดของเพื่อนๆ
คุณสมบัติ
– ขนาดของตู้ 75*75*210 เซ็นติเมตร
– กำลังผลิต 150 กิโลกรัม / วัน
– หยอดขั้นต่ำ 1 บาทขึ้นไป
– ตั้งค่าปริมาณน้ำแข็งได้
– น้ำแข็งที่ได้เป็นน้ำแข็งยูนิตสี่เหลี่ยม ขนาด 4 ซม. ก้อนตันทั้งก้อน ละลายช้า น้ำแข็งใสสะอาด ถูกหลักอนามัย
– บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
– ระบบทำงานเองอัตโนมัติทำให้ไม่ต้องจัดเตรียมสินค้า
– ไม่ต้องมีพนักงานคอยบริการ
– ลงทุนให้ผลตอบแทนระยะยาว
ต้นทุนค่าน้ำ / ค่าไฟฟ้าในการผลิตน้ำแข็ง 1 กิโลกรัม
– ค่าน้ำประปา (ลูกบาศก์เมตร) หน่วยละ 10 บาท โดยเฉลี่ยประมาณ 1-2 สตางค์
– ค่าไฟฟ้า คำนวณกำลังไฟฟ้าของเครื่อง (กิโลวัตต์/ชั่วโมง) หน่วยละ 3.30 บาท (รวมค่า FTและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) โดยเฉลี่ยประมาณ 60 สตางค์
แต่ราคาตู้สูงถึง 200,000 บาท ถ้าขาย กก.ละ 5 บาท หักค่น้ำค่าไฟ กก.ละประมาณ 1 บาท จุดคุ้มทุนไม่ต่ำกว่า 2 ปี อะไหล่มีขายในไทย และโรงงานนี้ผลิตเครื่องทำน้ำแข็งให้ 7-11 หลายสาขา
อยากทราบว่าในมุมมุมทั้งผู้ให้บริการ และในมุมมองของลูกค้า น่าจะมีทิศทางไปทางไหนครับ