เรื่องเล่า ห ลั ง เกษียณ
๒.ครู ส า ย อา ชี พ
ครูแบบเรา โอกาสที่จะไปอวดใครว่า ลูกศิษย์เจริญรุ่งเรืองเป็นใหญ่ เป็นโต
เป็นโน่น เป็นนี่-ทั้งยาก
เพราะ ตัอง ย อ ม รั บ ว่า นักเรียนที่ก้าวเข้า ในสายอาชีพนั้น ร้อยละ ๙๕
คือ ผู้ที่มีผลการเรียนมัธยม ระดับกลาง ถึ ง ต่ำ ถึง ต่ำมาก
และจำนวนผู้เรียนก็มีไม่มาก ด้วย ค่ า นิ ย ม ของผู้ปกครองที่ว่า
เรียนอะไร อย่างไรก็ได้ ขอให้ได้เข้ารับ ป ริ ญ ญ า
ยิ่ง ปั จ จุ บั น จำนวนผู้เรียนโดยรวมที่น้อยลง
จากปัญหาจำนวนป ร ะ ช า ก ร เกิดใหม่น้อย
ทำให้โรงเรียน มั ธ ย ม ที่มีระดับ ม.ปลาย พยายามยื้อยุดให้นักเรียนของตน
ศึกษาต่อ ม.ปลาย ใน โ ร ง เ รี ย น เดิม
นักเรียน ม. ๓ ที่หน่วยก้านดี หากแสดงความจำนงว่าอยากจะไปต่อ อาชีวะ
หรือ เทคนิค ก็จะมีกระบวนการเกลี่ยกล่อม ซึ่งเชื่อว่า
จะต้องมี ทั้ ง ขู่ ทั้ ง ป ล อ บ ให้เปลี่ยนใจกลับมาต่อ ม.ปลายที่เดิม
ผิดกับผู้ที่มีผลการเรียนไม่เป็นที่ชื่นชม ที่แทบจะอุ้มออกมาวางไว้นอกโรงเรียน
ดังนี้ กว่า สถานศึกษา สายอาชีพ จะได้ผู้สมัครที่มีคุณภาพเข้าเรียนแต่ละปี
จึงยากเย็น แสนเข็ญ
แต่..........เมื่อนักเรียนมาถึงมือครูแล้ว ครูช่าง ทุกคนก็ทุ่มเท-พยายามที่จะ
ทำให้เขาได้รับโอาสที่จะพัฒนาตนเอง ตามศักยภาพที่มีอยู่เพื่อเอาตัวให้อยู่รอดในสังคมได้
“ปั้ น ดิ น ใ ห้ เป็ น ด า ว” จึงเป็น สุภาษิต ประจำใจของครูสายอาชีพ
ครู สอนนั ก เ รี ย น เ ก่ ง ให้เก่งขึ้นไปอีกนั้น ไ ม่ ย า ก
แต่ ครู ที่สอนนักเรียน ไ ม่ เ ก่ ง ให้เอาตัวรอดได้นี่สิ เป็นวิถีของ ครู ส า ย อ า ชี พ
............................อย่างแท้จริง
๒.ครู ส า ย อา ชี พ
๒.ครู ส า ย อา ชี พ
ครูแบบเรา โอกาสที่จะไปอวดใครว่า ลูกศิษย์เจริญรุ่งเรืองเป็นใหญ่ เป็นโต
เป็นโน่น เป็นนี่-ทั้งยาก
เพราะ ตัอง ย อ ม รั บ ว่า นักเรียนที่ก้าวเข้า ในสายอาชีพนั้น ร้อยละ ๙๕
คือ ผู้ที่มีผลการเรียนมัธยม ระดับกลาง ถึ ง ต่ำ ถึง ต่ำมาก
และจำนวนผู้เรียนก็มีไม่มาก ด้วย ค่ า นิ ย ม ของผู้ปกครองที่ว่า
เรียนอะไร อย่างไรก็ได้ ขอให้ได้เข้ารับ ป ริ ญ ญ า
ยิ่ง ปั จ จุ บั น จำนวนผู้เรียนโดยรวมที่น้อยลง
จากปัญหาจำนวนป ร ะ ช า ก ร เกิดใหม่น้อย
ทำให้โรงเรียน มั ธ ย ม ที่มีระดับ ม.ปลาย พยายามยื้อยุดให้นักเรียนของตน
ศึกษาต่อ ม.ปลาย ใน โ ร ง เ รี ย น เดิม
นักเรียน ม. ๓ ที่หน่วยก้านดี หากแสดงความจำนงว่าอยากจะไปต่อ อาชีวะ
หรือ เทคนิค ก็จะมีกระบวนการเกลี่ยกล่อม ซึ่งเชื่อว่า
จะต้องมี ทั้ ง ขู่ ทั้ ง ป ล อ บ ให้เปลี่ยนใจกลับมาต่อ ม.ปลายที่เดิม
ผิดกับผู้ที่มีผลการเรียนไม่เป็นที่ชื่นชม ที่แทบจะอุ้มออกมาวางไว้นอกโรงเรียน
ดังนี้ กว่า สถานศึกษา สายอาชีพ จะได้ผู้สมัครที่มีคุณภาพเข้าเรียนแต่ละปี
จึงยากเย็น แสนเข็ญ
แต่..........เมื่อนักเรียนมาถึงมือครูแล้ว ครูช่าง ทุกคนก็ทุ่มเท-พยายามที่จะ
ทำให้เขาได้รับโอาสที่จะพัฒนาตนเอง ตามศักยภาพที่มีอยู่เพื่อเอาตัวให้อยู่รอดในสังคมได้
“ปั้ น ดิ น ใ ห้ เป็ น ด า ว” จึงเป็น สุภาษิต ประจำใจของครูสายอาชีพ
ครู สอนนั ก เ รี ย น เ ก่ ง ให้เก่งขึ้นไปอีกนั้น ไ ม่ ย า ก
แต่ ครู ที่สอนนักเรียน ไ ม่ เ ก่ ง ให้เอาตัวรอดได้นี่สิ เป็นวิถีของ ครู ส า ย อ า ชี พ
............................อย่างแท้จริง