เราคงทราบแล้วว่า...
ทำไมพิธีแรกนาขวัญจึงใช้โคแทนที่จะเป็นกระบือ..?
ก็เพราะพราหมณ์จะนับถือโคเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์
ด้วยเหตุนี้การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของพราหมณ์จึงมักจะมีวัวเข้าไปเกี่ยวข้องเสมอ ๆ พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญก็เช่นกัน เข้าใจแล้วนะคะ...
มาดูสรรพคุณทางยา “3สิ่ง”ที่ี่พระโคเสี่ยงทายปี 60 กันค่ะ...
🌽🌾🌿🐃🐂
กรมการแพทย์แผนไทยฯ เปิดสรรพคุณ ข้าว ข้าวโพด และหญ้าขน พระกระยาหารที่พระโคเลือกเสี่ยงทายกิน ปี 2560 เพื่อบอกถึงสรรพคุณอาหารเป็นยา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
นพ.ปราโมทย์ เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในฐานะโฆษกกรม กล่าวว่า งานพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ จัดขึ้นเพื่อให้เกิดความเป็น สิริมงคล บำรุงขวัญแก่เกษตรกร เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการเพาะปลูก ซึ่งปีนี้จัดขึ้นในวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 ซึ่งผลการเสี่ยงทายของกิน 7 สิ่ง พระโคเลือกเสี่ยงทายกิน ข้าว ข้าวโพด และหญ้าขน
สรรพคุณอาหารเป็นยา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของพระกระยาหารที่พระโคเลือกเสี่ยงทายกิน ปี 2560 ประกอบด้วย ข้าว ข้าวโพด และหญ้าขน โดยข้าว อุดมไปด้วยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต มีเส้นใยอาหาร มีสรรพคุณบำรุงร่างกายและบำรุงระบบประสาท
ในเชิงวิชาการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงอยากแนะนำเพิ่มเติมข้อมูลเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณอาหารเป็นยา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของพระกระยาหารที่ใช้ในวันพืชมงคลดังกล่าว สู่การใช้ประโยชน์ในเชิงสุขภาพต่อไป
http://www.komchadluek.net/news/edu-health/276718
เจอบล็อกนี้น่าอ่านเลยนำมาฝากให้อ่านกันค่ะ...
พืชมงคล...แรกนาขวัญ เป็นพิธีกรรมอย่างโบราณที่มีมากว่า ๑,๐๐๐ ปี ในดินแดนแถบอุษาคเนย์ ที่มีความมุ่งหมายเพื่อบำรุงขวัญเกษตรกร และเตือนให้เริ่มการเพาะปลูกพืชผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการทำนา "ปลูกข้าว" ธัญญาหารหลัก...
ที่สำคัญมีเพียงประเทศไทยเท่านั้น ที่ยังคงสืบสานพิธีกรรมนี้ไว้สืบมาจนถึงทุกวันนี้ ด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์
เช่นเดียวกับพระโค หรือ "วัว" สัตว์มงคล ที่เป็นที่นับถือ เชื่อถือ บูชา สืบต่อมาจากศาสนาฮินดู ในฐานะพาหนะแห่งเทพฯ
พระโคเสี่ยงทาย และคำพยากรณ์อย่างโบราณ-ศาสตร์ ส่วนหนึ่งในพิธีพืชมงคล ที่ยังคงรักษาไว้ ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน ฤดู
หากอ่านดูคำพยากรณ์แบบโบราณ ที่ทำนายไว้เป็นทางสายกลาง เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้เกษตรกร พร้อมรับกับทุกฤดูกาล แม้ปริมาณน้ำจะมาก จะน้อย หรือปริมาณพอดี วิถี...กสิกรรม ก็ต้องสู้...ทน
เพราะเกษตรกร ชาวนา ชาวสวน ชาวไร่ จึงทำให้การเสี่ยงทายของพระโค ส่งผลอย่างคำพยากรณ์ จากอดีตจนถึงวันนี้...
ประเทศไทยยังคงมี ธัญญาหาร ผลาหาร ภักษาหาร มังสาหาร บริบูรณ์ดี...อุดมสมบูรณ์ดี
คงไม่มีใครปฏิเสธคำพยากรณ์ว่า แผ่นดินไทย แผ่นดินกสิกรรม อุดมสมบูรณ์ ไม่เคยอดอยาก ขาดแคลน เรื่องอาหาร...ฯ
ลูกชาวนา นั่งชมถ่ายทอดสด พระราชพิธีฯ จากมณฑลพิธีท้องสนามหลวง
จบถ่ายทอดสด พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ลูกชาวนา แวะเข้าสังคมออนไลน์ ทวีตเตอร์-เฟสบุ๊ค
เห็นเหล่าชาวทวิภพ เล่นคำทวีต แซวพระโคเสี่ยงทาย กินหญ้า(อ่อน) กินเหล้า(เมา) กันเป็นเรื่องสนุก คึกคะนองปากไปถึง(พระ)โค(โยตี้)...ฯลฯ ลูกชาวนา อ่านแล้วหดหู่หัวใจ...
ที่แย่กว่า เมื่อเสิร์ทหาข้อมูลจะไปทวีตงาน เผลอไปเจอเว็ปบอร์ดของคนกลุ่ม(พวก)นั้น สนทนาถึงพระโค-พระราชพิธีฯ
ถ้าถามแม่ชาวนา คงบอกว่าทำใจ คนรุ่นใหม่ในทุ่งออนไลน์ช่าง "ไม่รู้หวัน" คือ ไม่รู้ว่าอะไรควร...ไม่ควร...
แถมยังไม่รู้จักบุญคุณของ วัว-ควาย เพื่อนคู่ชีวิตของชาวนา...ที่ปลูกข้าวให้สูเจ้ากิน
http://oknation.nationtv.tv/blog/mindhand/2011/05/14/entry-1
((มาลาริน)) ^_^ รู้ไว้ใช่ว่าสรรพคุณทางยา ข้าวเปลือก ข้าวโพด หญ้าขน..พระโคกินหญ้าสรรพคุณทางยาว่า ช่วยขับปัสสาวะ แก้ร้อนใน
ทำไมพิธีแรกนาขวัญจึงใช้โคแทนที่จะเป็นกระบือ..?
ก็เพราะพราหมณ์จะนับถือโคเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์
ด้วยเหตุนี้การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของพราหมณ์จึงมักจะมีวัวเข้าไปเกี่ยวข้องเสมอ ๆ พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญก็เช่นกัน เข้าใจแล้วนะคะ...
มาดูสรรพคุณทางยา “3สิ่ง”ที่ี่พระโคเสี่ยงทายปี 60 กันค่ะ...🌽🌾🌿🐃🐂
กรมการแพทย์แผนไทยฯ เปิดสรรพคุณ ข้าว ข้าวโพด และหญ้าขน พระกระยาหารที่พระโคเลือกเสี่ยงทายกิน ปี 2560 เพื่อบอกถึงสรรพคุณอาหารเป็นยา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
นพ.ปราโมทย์ เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในฐานะโฆษกกรม กล่าวว่า งานพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ จัดขึ้นเพื่อให้เกิดความเป็น สิริมงคล บำรุงขวัญแก่เกษตรกร เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการเพาะปลูก ซึ่งปีนี้จัดขึ้นในวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 ซึ่งผลการเสี่ยงทายของกิน 7 สิ่ง พระโคเลือกเสี่ยงทายกิน ข้าว ข้าวโพด และหญ้าขน
สรรพคุณอาหารเป็นยา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของพระกระยาหารที่พระโคเลือกเสี่ยงทายกิน ปี 2560 ประกอบด้วย ข้าว ข้าวโพด และหญ้าขน โดยข้าว อุดมไปด้วยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต มีเส้นใยอาหาร มีสรรพคุณบำรุงร่างกายและบำรุงระบบประสาท
ในเชิงวิชาการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงอยากแนะนำเพิ่มเติมข้อมูลเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณอาหารเป็นยา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของพระกระยาหารที่ใช้ในวันพืชมงคลดังกล่าว สู่การใช้ประโยชน์ในเชิงสุขภาพต่อไป
http://www.komchadluek.net/news/edu-health/276718
เจอบล็อกนี้น่าอ่านเลยนำมาฝากให้อ่านกันค่ะ...
พืชมงคล...แรกนาขวัญ เป็นพิธีกรรมอย่างโบราณที่มีมากว่า ๑,๐๐๐ ปี ในดินแดนแถบอุษาคเนย์ ที่มีความมุ่งหมายเพื่อบำรุงขวัญเกษตรกร และเตือนให้เริ่มการเพาะปลูกพืชผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการทำนา "ปลูกข้าว" ธัญญาหารหลัก...
ที่สำคัญมีเพียงประเทศไทยเท่านั้น ที่ยังคงสืบสานพิธีกรรมนี้ไว้สืบมาจนถึงทุกวันนี้ ด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์
เช่นเดียวกับพระโค หรือ "วัว" สัตว์มงคล ที่เป็นที่นับถือ เชื่อถือ บูชา สืบต่อมาจากศาสนาฮินดู ในฐานะพาหนะแห่งเทพฯ
พระโคเสี่ยงทาย และคำพยากรณ์อย่างโบราณ-ศาสตร์ ส่วนหนึ่งในพิธีพืชมงคล ที่ยังคงรักษาไว้ ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน ฤดู
หากอ่านดูคำพยากรณ์แบบโบราณ ที่ทำนายไว้เป็นทางสายกลาง เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้เกษตรกร พร้อมรับกับทุกฤดูกาล แม้ปริมาณน้ำจะมาก จะน้อย หรือปริมาณพอดี วิถี...กสิกรรม ก็ต้องสู้...ทน
เพราะเกษตรกร ชาวนา ชาวสวน ชาวไร่ จึงทำให้การเสี่ยงทายของพระโค ส่งผลอย่างคำพยากรณ์ จากอดีตจนถึงวันนี้...
ประเทศไทยยังคงมี ธัญญาหาร ผลาหาร ภักษาหาร มังสาหาร บริบูรณ์ดี...อุดมสมบูรณ์ดี
คงไม่มีใครปฏิเสธคำพยากรณ์ว่า แผ่นดินไทย แผ่นดินกสิกรรม อุดมสมบูรณ์ ไม่เคยอดอยาก ขาดแคลน เรื่องอาหาร...ฯ
ลูกชาวนา นั่งชมถ่ายทอดสด พระราชพิธีฯ จากมณฑลพิธีท้องสนามหลวง
จบถ่ายทอดสด พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ลูกชาวนา แวะเข้าสังคมออนไลน์ ทวีตเตอร์-เฟสบุ๊ค
เห็นเหล่าชาวทวิภพ เล่นคำทวีต แซวพระโคเสี่ยงทาย กินหญ้า(อ่อน) กินเหล้า(เมา) กันเป็นเรื่องสนุก คึกคะนองปากไปถึง(พระ)โค(โยตี้)...ฯลฯ ลูกชาวนา อ่านแล้วหดหู่หัวใจ...
ที่แย่กว่า เมื่อเสิร์ทหาข้อมูลจะไปทวีตงาน เผลอไปเจอเว็ปบอร์ดของคนกลุ่ม(พวก)นั้น สนทนาถึงพระโค-พระราชพิธีฯ
ถ้าถามแม่ชาวนา คงบอกว่าทำใจ คนรุ่นใหม่ในทุ่งออนไลน์ช่าง "ไม่รู้หวัน" คือ ไม่รู้ว่าอะไรควร...ไม่ควร...
แถมยังไม่รู้จักบุญคุณของ วัว-ควาย เพื่อนคู่ชีวิตของชาวนา...ที่ปลูกข้าวให้สูเจ้ากิน
http://oknation.nationtv.tv/blog/mindhand/2011/05/14/entry-1