นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเวียนนาได้สร้างไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีความยืดหยุ่น โดยใช้โลหะทรานซิชัน ดีแชลโคเจไนด์ (TMD) เช่นเดียวกับวัสดุมหัศจรรย์แกรฟีน TMD สามารถสร้างเป็นชั้นที่มีความหนาเพียงหนึ่งอะตอม ทำให้พื้นผิวใกล้เคียงกับสองมิติมากเท่าที่เราสามารถทำได้ ซึ่งพื้นผิวที่บางเฉียบนี้เป็นสิ่งที่ทำให้โปรเซสเซอร์มีความยืดหยุ่น
อ้างอิงจาก Network World โปรเซสเซอร์ ไม่ได้มีประสิทธิภาพเท่ากับมาตรฐานปัจจุบันของเรา ในความเป็นจริงมันเป็นเพียงหน่วยประมวลผลแบบหนึ่งบิต ที่มีทรานซิสเตอร์ 115 ตัว และสามารถใช้งานได้เพียง 4 คำสั่งเท่านั้น
อย่างไรก็ตาม นักวิจัยได้ตีพิมพ์ในวารสาร Nature ซึ่งชี้ให้เห็นว่านี่เป็นขั้นตอนแรกในการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์บนพื้นฐานของเซมิคอนดักเตอร์แบบ 2D
ที่มา
TechSpot
Microprocessors ด้วยความหนาเพียงหนึ่งอะตอม ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีความยืดหยุ่น
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเวียนนาได้สร้างไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีความยืดหยุ่น โดยใช้โลหะทรานซิชัน ดีแชลโคเจไนด์ (TMD) เช่นเดียวกับวัสดุมหัศจรรย์แกรฟีน TMD สามารถสร้างเป็นชั้นที่มีความหนาเพียงหนึ่งอะตอม ทำให้พื้นผิวใกล้เคียงกับสองมิติมากเท่าที่เราสามารถทำได้ ซึ่งพื้นผิวที่บางเฉียบนี้เป็นสิ่งที่ทำให้โปรเซสเซอร์มีความยืดหยุ่น
อ้างอิงจาก Network World โปรเซสเซอร์ ไม่ได้มีประสิทธิภาพเท่ากับมาตรฐานปัจจุบันของเรา ในความเป็นจริงมันเป็นเพียงหน่วยประมวลผลแบบหนึ่งบิต ที่มีทรานซิสเตอร์ 115 ตัว และสามารถใช้งานได้เพียง 4 คำสั่งเท่านั้น
อย่างไรก็ตาม นักวิจัยได้ตีพิมพ์ในวารสาร Nature ซึ่งชี้ให้เห็นว่านี่เป็นขั้นตอนแรกในการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์บนพื้นฐานของเซมิคอนดักเตอร์แบบ 2D
ที่มา TechSpot